ลำดับตอนที่ #1
คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #1 : ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารของมนุษย์ (ฉบับย่ออีกแล้ว)
  การสื่อสารทั้งหมดที่เกิดขึ้นจะขาดสิ่งสำคัญไปไม่ได้ คือ สิ่งที่เรียกว่า \"ภาษา\" มนุษย์นำ
มาใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร มีผู้กล่าวว่า\"ภาษาที่ใช้คือหัวใจของการสื่อสาร หมายความว่า ผู้ใช้ภาษาควรตระหนักในบทบาทและความสำคัญของภาษาที่มีต่อการสื่อสารของมนุษย์ เป็นส่วนช่วยให้เนื้อหาที่จะสื่อสารเป็นที่รับรู้และเข้าใจร่วมกันได้ แต่ละสังคมนั้นต่างก็มีภาษาเฉพาะในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน โดยคนในสังคมกำหนดความหมายของภาษาร่วมกัน เพื่อเกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารนั้นจะปรากฏใน 2 ลักษณะ ดังนี้
        1. วัจนภาษา (Verbal Language) คือ ภาษาถ้อยคำ ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน
ซึ่งคนในสังคมตกลงร่วมกัน เช่น ภาษาไทย  ภาษาอังกฤษ เป็นต้น
        2. อวัจนภาษา (Non-Verbal Language) คือ ภาษาที่ไม่ใช่ภาษาพูดและภาษา
เขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น เครื่องหมาย สัญลักษณ์ต่างๆ น้ำเสียง สีหน้าท่าทาง กาลภาษา ภาพ การสัมผัส เป็นต้น ซึ่งอาจใช้ประกอบกับวัจนภาษาหรืออาจใช้เพียงลำพังก็ได้ ตัวอย่างเช่น ภาษามือ ลักษณะบนใบหน้าที่ทำให้รู้ถึงความรู้สึก เช่น เขาหัวเราะ (เขากำลังมีความสุข สนุกสนาน)
มาใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร มีผู้กล่าวว่า\"ภาษาที่ใช้คือหัวใจของการสื่อสาร หมายความว่า ผู้ใช้ภาษาควรตระหนักในบทบาทและความสำคัญของภาษาที่มีต่อการสื่อสารของมนุษย์ เป็นส่วนช่วยให้เนื้อหาที่จะสื่อสารเป็นที่รับรู้และเข้าใจร่วมกันได้ แต่ละสังคมนั้นต่างก็มีภาษาเฉพาะในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน โดยคนในสังคมกำหนดความหมายของภาษาร่วมกัน เพื่อเกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารนั้นจะปรากฏใน 2 ลักษณะ ดังนี้
        1. วัจนภาษา (Verbal Language) คือ ภาษาถ้อยคำ ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน
ซึ่งคนในสังคมตกลงร่วมกัน เช่น ภาษาไทย  ภาษาอังกฤษ เป็นต้น
        2. อวัจนภาษา (Non-Verbal Language) คือ ภาษาที่ไม่ใช่ภาษาพูดและภาษา
เขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น เครื่องหมาย สัญลักษณ์ต่างๆ น้ำเสียง สีหน้าท่าทาง กาลภาษา ภาพ การสัมผัส เป็นต้น ซึ่งอาจใช้ประกอบกับวัจนภาษาหรืออาจใช้เพียงลำพังก็ได้ ตัวอย่างเช่น ภาษามือ ลักษณะบนใบหน้าที่ทำให้รู้ถึงความรู้สึก เช่น เขาหัวเราะ (เขากำลังมีความสุข สนุกสนาน)
เก็บเข้าคอลเล็กชัน
ความคิดเห็น