ลำดับตอนที่ #10
คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #10 : ออสเตรเลียประกาศ เลิกใช้หลอดไฟ ภายใน 2010
ภายใต้แคมเปญ Ban the Bulb รัฐบาลดาวน์อัน-เดอร์เรียกร้องให้ประชาชนค่อยๆ
ลดการ ใช้หลอดไฟแบบเก่าและ หันมาใช้หลอดไฟที่จะช่วยประหยัดพลังงานได้มากขึ้น
อาทิหลอดฟลูออเรสเซนต์รุ่นประหยัดไฟเนื่องจากหลอดไฟประเภทเก่านั้นกินไฟในขณะที่ปล่อยรังสีความร้อนออกมามากกว่าหลอดไฟทั่วไปแต่หลอดฟลูออเรสเซนต์จะใช้พลังงาน
ไฟฟ้าเพียงแค่ร้อยละ20ในการผลิตแสงไฟปริมาณเทียบเท่ากับหลอดไฟหนึ่งหลอดโดย
รัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมจากแดนจิงโจ้ได้ประมาณไว้ว่าแคมเปญยกเลิกการใช้หลอดไฟแบบ
เก่าจะช่วย ให้ ออสเตรเลียสามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ถึง 4 ล้านตัน
ภายในปี 2010
ลดการ ใช้หลอดไฟแบบเก่าและ หันมาใช้หลอดไฟที่จะช่วยประหยัดพลังงานได้มากขึ้น
อาทิหลอดฟลูออเรสเซนต์รุ่นประหยัดไฟเนื่องจากหลอดไฟประเภทเก่านั้นกินไฟในขณะที่ปล่อยรังสีความร้อนออกมามากกว่าหลอดไฟทั่วไปแต่หลอดฟลูออเรสเซนต์จะใช้พลังงาน
ไฟฟ้าเพียงแค่ร้อยละ20ในการผลิตแสงไฟปริมาณเทียบเท่ากับหลอดไฟหนึ่งหลอดโดย
รัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมจากแดนจิงโจ้ได้ประมาณไว้ว่าแคมเปญยกเลิกการใช้หลอดไฟแบบ
เก่าจะช่วย ให้ ออสเตรเลียสามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ถึง 4 ล้านตัน
ภายในปี 2010
ออสเตรเลียเป็นประเทศแรกที่นำแคมเปญ Ban the Bulb มาใช้ปฏิบัติจริงแม้แนว
ความคิดนี้ จะถูกนำเสนอเป็นครั้งแรกที่แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา การเคลื่อนไหวครั้งนี้
คาดหวังรัฐแคลิฟอร์เนียภายใต้การบริหารของผู้ว่าฯคนเหล็ก อาร์โนลด์ ชวาร์เซเนเกอร์
จะเป็นผู้นำมาตรการนี้ไปปรับใช้เป็นที่ต่อไป
ความคิดนี้ จะถูกนำเสนอเป็นครั้งแรกที่แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา การเคลื่อนไหวครั้งนี้
คาดหวังรัฐแคลิฟอร์เนียภายใต้การบริหารของผู้ว่าฯคนเหล็ก อาร์โนลด์ ชวาร์เซเนเกอร์
จะเป็นผู้นำมาตรการนี้ไปปรับใช้เป็นที่ต่อไป
อย่างไรก็ตาม นักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งพรรคฝ่ายค้านในออสเตรเลียได้เสนอแนะ
ว่า วิธีที่ได้ผลดีที่สุดในการควบคุมปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ก็คือ การยึดมั่นและ
ปฏิบัติตามข้อตกลงของพิธีสารเกียวโต อันเป็นมาตรการทางกฎหมายนานาชาติว่าด้วย
การควบคุม ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของประเทศพัฒนาแล้วเพื่อรับมือ
กับปัญหาโลกร้อน บรรดานักเคลื่อนไหวมองว่า สำหรับออสเตรเลียแล้ว วิธีนี้น่าจะได้ผล
ดีกว่า เพราะต้นตอของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่แท้จริงในออสเตรเลียเกิดจากภาครัฐ
และภาคธุรกิจเอกชนขนาดใหญ่ ไม่ใช่พฤติกรรมของประชาชน
ว่า วิธีที่ได้ผลดีที่สุดในการควบคุมปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ก็คือ การยึดมั่นและ
ปฏิบัติตามข้อตกลงของพิธีสารเกียวโต อันเป็นมาตรการทางกฎหมายนานาชาติว่าด้วย
การควบคุม ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของประเทศพัฒนาแล้วเพื่อรับมือ
กับปัญหาโลกร้อน บรรดานักเคลื่อนไหวมองว่า สำหรับออสเตรเลียแล้ว วิธีนี้น่าจะได้ผล
ดีกว่า เพราะต้นตอของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่แท้จริงในออสเตรเลียเกิดจากภาครัฐ
และภาคธุรกิจเอกชนขนาดใหญ่ ไม่ใช่พฤติกรรมของประชาชน
เก็บเข้าคอลเล็กชัน
ความคิดเห็น