ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ห้องบนหลังคา

    ลำดับตอนที่ #4 : หน่วยวัดจีน

    • อัปเดตล่าสุด 20 ม.ค. 59


    การเปรียบเทียบมาตราต่างๆ

    ชุ่น                           ชุ่น                        =             1 นิ้ว

    ฉื่อ                           1 ฉื่อ                        =             10 ชุ่น (ราวๆ ฟุต)

                                    1 ฉื่อ                     =             10 นิ้ว (ราวๆ ฟุต)

    จั้ง                            1 จั้ง                        =             10 ฉื่อ

                                    จิ้ง                     =             ประมาณ 3.3 เมตร

    วา                           1 วา                      =             2 เมตร หรือ ศอก

    ศอก                        ศอก                   =             50 เซนติเมตร

    หลี่                           หลี่                    =             500 เมตร

    หมู่ (ไร่จีน)              หมู่                      =             166.5 ตารางวา หรือ 666 ตารางเมตร

    ตำลึง                      ตำลึง                  =             32 กรัม

    ผาน (ถาดอาหาร) 1 ผาน                      =             16 จิน = 596.92 กรัม

    จิน                           1 จิน                    =             500 กรัม = 16 เหลี่ยง

    เหลี่ยง                     1 เหลี่ยง                =             31.25

     

    หน่วยฉื่อจีนแผ่นดินใหญ่มีการบัญญัติความยาวอย่างเป็นทางการในปี 1984 ฉื่อแผ่นดินใหญ่มีความยาวราว ใน ของหน่วยเมตร ซึ่งได้ค่ายาว 33 1/3 เซนติเมตร แต่ทว่าถ้าเป็นฉื่อฮ่องกงก็จะมีความยาว 37.1475 เซนติเมตร และคนฮ่องกงเองไม่นิยมเรียก ฉื่อ แต่นิยมเรียกว่า เซี๊ยะ แทน เพราะฮ่องกงเป็นคนพื้นเพกวางตุ้ง ฉะนั้นจึงเรียกอย่างที่ว่า แถมความรู้อีกในบางครั้งฉื่อจีนแผ่นดินใหญ่กับฉื่อฮ่องกงถูกถอดความแปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า ฟุตจีนและฟุตฮ่องกง ตามลำดับ

    ** ค่าของหน่วยฉื่ในประวัติศาสตร์โบราณนั้น มิได้มีความยาวเท่าปัจจุบัน การศึกษาไม้บรรทัดจีนโบราณของนักวิจัยโบราณคดีนั้น ได้สรุปว่าหน่วยฉื่อในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาลถึงคริสต์ศตวรรษที่ 3 (ช่วงเวลานี้ตรงกับช่วงยุคราชวงศ์ฉินถึงยุคสามก๊ก) มีค่าประมาณ 23.1 – 24.3 เซนติเมตร โดยฉื่อในยุคเลียดก๊ก หรือ จ้านกว๋อ ก็มีค่าเท่ากับ 23.1 – 24.3 เซนติเมตรเช่นกัน

     

     

     

    มาตราเวลา

    เค่อ                         1 เค่อ                      =             15 นาที

    ก้านธูป                   1 ก้านธูป                   =             15 นาที

    ข้อ                           1 ข้อ                          =             15 นาที (นับโดยถือหลักจากหยดน้ำเต็มหนึ่งข้อไม้ไผ่)

    ชั่วยาม (สือเชิน)    1 ชั่วยาม                      =             12 ชั่วโมง

                                    1 วัน                         =             12 ชั่วยาม

    * จีนสมัยโบราณ วัน แบ่งเป็น 12 ชั่วยาม ( 1 ชั่วยาม เท่ากับ ชั่วโมง) โดยสัตว์แต่ละชนิดจะเป็นตัวแทนของแต่ละชั่วยาม หมายความว่าใน ชั่วยาม สัตว์ที่ถูกเลือกเป็นสัญลักษณ์ จะมีกิจกรรมที่โดดเด่นที่สุดในชั่วยามนั้นๆ อาทิเช่น ชั่วยามแรก (เที่ยงคืน – ตีสอง) เป็นเวลาหาอาหารของหนู หลังจากนั้น ก่อนอรุณเบิกฟ้า วัวจะเริ่มทำงานในทุ่งหญ้า เป็นต้น ส่วนกิจกรรมของลิงจะเริ่มในช่วง 4 – 6 โมงเย็น ในจำนวน 12 นักษัตรนี้มีเพียงมังกรเท่านั้นที่เป็นสัตว์ในตำนาน ทั้งนี้ในยุคสมัยต่อมายังมีการเล่าขานที่แตกต่างกันออกไปถึงที่มาการเลือกสัตว์ทั้ง 12 นี้มาเป็นสัญลักษณ์ อาจกล่าวได้ดังนี้ 23.00 – 00.59 ยามชวด01.00 – 02.59 ยามฉลู03.00 – 04.59 ยามขาล, 05.00 – 06.59 ยามเถาะ07.08.59 ยามมะโรง09.00 – 10.59 ยามมะเส็ง11.00 – 12.59 ยามมะเมีย13.00 – 14.59 ยามมะแม15.00 – 16.59 ยามวอก17.00 – 18.59 ยามระกา19.00 – 20.59 ยามจอ และ 21.00 – 22.59 ยามกุน

     

     

     

    มาตราเงินตรา

    อีแปะ (หรือเหวิน)                  1 อีแปะ  =             1 เหรียญทองแดง

    ก้วน                                   1 ก้วน     =             100 อีแปะ (หนึ่งพวงของเหรียญทองแดง)

    ตำลึงเงิน                            1 ตำลึง   =             1 ก้วนเกรียญทองแดง

    ตำลึงทอง                             ตำลึง   =             10 ตำลึงเงิน

     

     

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×