ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ดอกไม้ในวรรณคดีไทย

    ลำดับตอนที่ #17 : ยางพลวง

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 823
      0
      15 มิ.ย. 47

    ชื่อพฤกษศาสตร์ : Dipterocarpus tuberoulatus

    วงศ์ : DIPFEROCARPACEAE

    ชื่อไทยพื้นเมือง : ตัง,กุ่ง,เกาะ,สะแต้ว,คลง,คลุ้ง,โคล้ง,สะเติง

    วรรณคดีที่กล่าวถึง : สมบัติอมรินทร์คำกลอน,ขุนช้างขุนแผน,รามเกียรติ์,ลิลิตตะเลงพ่าย

    พลวงหรือยางพลวง เป็นต้นไม้ที่มักพบขึ้นอยู่รวมกันเป็นกลุ่มๆตามป่าเบญจพรรณแล้ง ทั้งทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก เป็นต้นไม้ผลัดใบมีลำต้นสูงตั้งแต่ 20-30 เมตร ลำต้นเปลาตรงเปลือกหนาเป็นสีน็ตาลปนสีเทาจางๆตามเปลือกของลำต้นแตกเป็รร่องไปตามยาวของลำต้น เรือนยอดเป็นพุ่มกลมใบไม่แน่นทึบมากนัก ใบรีรูปไข่ เนื้อใบหนา ขนาดใบค่อนข้างใหญ่ คือกว้างประมาณ 15-25 เซนติเมตร ยาวประมาณ 15-50 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อเดี่ยวตามง่ามใบ บริเวณปลายกิ่ง ดอก 5 กลีบเป็นสีม่วงอมแดง ผลเป็นรูปกรวยปลายแยกออกเป็น 5 แฉก ยาวเป็นปีก 2 แฉก ส่วนตัดกับปีกใบพองโตเป็นพู 5 พู ขนาดปีกยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร

    พลวงหรือยางพรวง มักชอบขึ้นตามที่ลาดต่ำในบริเวณใกล้ลำห้วยหรือใกล้ๆกับที่ชุ่มชื้น และผลัดใบก่อนการออกดอก พลวงหรือยางพลวงออกดอกระหว่างเดือนธันวาคม-เมษายน เนื้อไม้ใช้ประโยชน์ในการก่อสร้างบ้านเรือน

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×