ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    โครงงานสุขศึกษา ม. 4

    ลำดับตอนที่ #15 : ตัวอย่งแผ่นพับ เรื่อง เส้นทางสู่สุขภาพ

    • อัปเดตล่าสุด 3 ก.ค. 55


    หรือบุคคลวัยสูงอายุ ส่วนวัยเด็กหรือวัยรุ่น สามารถใช้ในการทรงตัวเพื่อทดสอบสมรรถภาพทางกายได้
    3.  สถานที่ดำเนินการ
        โรงเรียนอำนาจเจริญ
    4. ระยะเวลาดำเนินการ
         ภาคเรียนที่  2  ปีการศึกษา  2552
    6.  เนื้อหาสาระ
          6.1 ประวัติการเกิดการนวดฝ่าเท้า
          6.2 ประโยชน์ของการนวด และกดจุดฝ่าเท้า
          6.3 การบริหารร่างกายโดยใช้กะลามะพร้าว
    7.  หน่วยงาน/บุคคลที่เกี่ยวข้อง
         7.1  นายคำฟอง  โคตรศรี (ภูมิปัญญาท้องถิ่น)
         7.2  งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลอำนาจเจริญ
    8.  ผลที่คาดว่าจะได้รับ
        มีอุปกรณ์ในการส่งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค โดยวิธีการนวดฝ่าเท้า การออกกำลังกายด้วยการเดินและการทรงตัวที่มีประสิทธิภาพ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยในด้านการส่งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรคให้อยู่คู่สังคมไทยและวิถีชีวิต                                        แบบไทย  ๆ  ต่อไป
    9.  การติดตามประเมินผล
          9.1  แบบประเมินตนเองในการปฏิบัติงาน
          9.2  แบบสอบถามความพึงพอใจ กลุ่มตัวอย่าง
     
     
     

     

    1.  อุปกรณ์
    1.1 กะลามะพร้าว จำนวน 9  ใบ
    1.2 ไม้ไผ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.5  เซนติเมตร ความยาว 2 เมตร  จำนวน 2  ท่อน
    1.3 ไม้ไผ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.5  เซนติเมตร ความยาว 1 เมตร  จำนวน 7  ท่อน
    1.4 ไม้ไผ่ เหลาจำนวนหนึ่ง สำหรับสานเป็นตาข่าย ขนาด กว้าง 1/2  เมตร   ยาว 2 เมตร 
    1.5 ลวด 2  ขด
    1.6 ยางในรถจักรยานยนต์
    1.7 สีโปสเตอร์
    1.8 เทปวัด
    1.9 กระป๋องนม  จำนวน 4  ใบ
    1.10 ปูน ทราย สำหรับผสมใส่ในกระป๋องนม  จำนวน 4  ใบ                   1.11  กระกาษทราย
    2.  วิธีทำ
    1. นำกะลามะพร้าวทั้งลูกมาทำความสะอาด ขัดให้เกลี้ยง ทาสี ตกแต่งทำเป็นลวดลายต่างๆเพื่อให้เกิดความสวยงาม ดึงดูดความสนใจและให้ความรู้สึกด้านสุนทรียภาพ
    2. นำไม้ไผ่มาสานเป็นฐานสำหรับรองรับนำหนักตัว นำกะลามาวางตามท่วงท่าจังหวะการก้าวเดินจำนวน 9 จุด กำหนดจุดอย่างพอเหมาะกับบุคคลทุกเพศทุกวัย จากนั้นใช้เชือกหรือลวดสอดตามรูที่เจาะไว้แล้วยึดติดกับไม้ไผ่ด้านล่าง
    3. ผสมปูนแล้วเทลงในกระป๋องนม จำนวน 4 ใบ ซึ่งมีไม้ไผ่ความยาว 1 เมตรตั้งอยู่ 
    4. จัดทำราวในการยึดเกาะกับไม้ไผ่ที่เทปูนที่แห้งแล้ว ใช้สำหรับการเดินของบุคคลวัยผู้ใหญ่ วัยกลางคน
     
    วัตถุประสงค์
    1.  เพื่อศึกษาค้นคว้าอุปกรณ์ในการส่งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค โดยวิธีการนวดฝ่าเท้า การออกกำลังกายด้วยการเดินและการทรงตัว
     2.  เพื่อสร้างเสริมประสิทธิภาพอุปกรณ์สำหรับการส่งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรคโดยวิธีการนวดฝ่าเท้า การออกกำลังกายด้วยการเดินและการทรงตัวตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 
    3. เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยในด้านการส่งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค โดยวิธีการนวดฝ่าเท้า การออกกำลังกายด้วยการเดินและการทรงตัว ให้อยู่คู่สังคมไทยและวิถีชีวิต แบบไทย  ๆ  ต่อไป
    3.  เป้าหมาย
    เป้าหมายเชิงปริมาณ
    นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน  30  คน  
    ครูกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา จำนวน  10  คน
    เป้าหมายเชิงคุณภาพ
            มีอุปกรณ์ในการส่งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค โดยวิธีการนวดฝ่าเท้า การออกกำลังกายด้วยการเดินและการทรงตัวที่มีประสิทธิภาพ ประหยัดค่าใช้จ่าย ส่งเสริมและอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยในด้านการส่งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค ให้อยู่คู่สังคมไทยและวิถีชีวิตแบบไทย  ๆ  ต่อไป
    4.  สมมุติฐานการศึกษา
          “เส้นทางสุขภาพ” คือ อุปกรณ์ในการส่งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค โดยวิธีการนวดฝ่าเท้าที่มีประสิทธิภาพ การออกกำลังกายด้วยการเดินและการทรงตัว แบบประหยัดค่าใช้จ่าย
    ส่งเสริมและอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
     5.  ขอบข่ายการศึกษา
          ศึกษาและค้นคว้าอุปกรณ์ในการส่งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค โดยวิธีการนวดฝ่าเท้าที่มีประสิทธิภาพ การออกกำลังกายด้วยการเดินและการทรงตัว ประหยัดค่าใช้จ่ายส่งเสริมและอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
    6.  แหล่งข้อมูล
         1. อินเตอร์เน็ต    2. ภูมิปัญญาชาวบ้าน
         3. โรงพยาบาลอำนาจเจริญ
    ประโยชน์ของการนวด และกดจุดฝ่าเท้า
    1.สามารถขจัดความกดดันและเมื่อยตึงของกล้ามเนื้อ
    2. ช่วยให้เกิดความผ่อนคลาย สลายเครียด
    3. เป็นเสมือนการล้างพิษทางผิวหนัง ช่วยกระตุ้นให้เกิดการขับของเสียออกมาทางผิวหนัง
    4. ช่วยกระตุ้นให้โลหิตมีการไหลเวียนได้ดีไปยังทั่วทุกส่วน
    5. กระตุ้นการทำงานของระบบประสาท
    6. ปรับความสมดุลให้เนื้อเยื่อต่างๆ
    7. เพิ่มพลังงานและสมรรถภาพการทำงานภายในของอวัยวะต่างๆ
    8. กระตุ้นเซลล์ผิวหนัง จึงมีผลให้ผิวพรรณแข็งแรงเปล่งปลั่ง กระตุ้นการทำงานของต่อม  ไทรอยด์ มีผลต่อฮอร์โมน และอารมณ์ของคนเรา
    9. ช่วยให้สมองคลายเครียด ทำให้นอนหลับได้ง่ายขึ้น
    10. เพิ่มพลังสมอง แก้ไขปัญหาความจำ
    11. มีผลต่อข้อและเอ็นต่างๆ ทำให้เคลื่อนไหวดีมีความยืดหยุ่นพอเหมาะ
    12. บำบัดหรือบรรเทาความเจ็บไข้ไม่สบายต่างๆ
     

     

    ปวดตามข้อ
    อาการปวดตามข้อมักเกิดจากการออกกำลังกายที่หักโหมหรือใช้กล้ามเนื้อบริเวณข้อรับน้ำหนักมากเกินไป ซึ่งอาการนี้เกี่ยวข้องกับระบบไหลเวียนโลหิต ดังนั้นการกดจุดเพื่อรักษาอาการปวดตามข้อ จึงต้องนวดบริเวณที่ส่งผลต่อระบบเลือด ซึ่งตำแหน่งนี้จะอยู่หลังเท้าข้างซ้ายตรงกลางพอดี วิธีกด ให้ใช้ท้องนิ้วหัวแม่มือกด ไม่ต้องออกแรงมาก เพราะจุดนี้อยู่ตื้นๆจึงไม่จำเป็นต้องออกแรงมาก การออกแรงมากอาจทำให้มีอาการบาดเจ็บเกิดขึ้นได้
    เส้นเลือดขอด
    ผู้ที่ยืนนานๆ หรือสวมรองเท้าส้นสูงเป็นประจำ จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นเส้นเลือดขอดมากกว่าคนทั่วไป การนวดเท้าตรงตำแหน่งที่ส่งผลต่อน่องจะช่วยบรรเทาและป้องกันอาการเส้นเลือดขอดได้ โดยให้ใช้ท้องนิ้วหัวแม่มือวางลงตรงด้านนอกเท้าบริเวณปลายกระดูกส้นเท้า จากนั้นออกแรงกด นวดคลึงประมาณ 15 นาที ทำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง จะช่วยลดอาการได้ คุณก็จะมีเรียวขาที่สวยงาม
     ปวดเอวและก้นกบ
                  การนั่งนานๆ อย่างสาวออฟฟิศทั้งหลาย มักจะประสบปัญหาของอาการปวดบริเวณเอวและก้นกบกันอยู่บ่อยๆ วิธีการกดจุดบรรเทาอาการนี้ จะกดจุดบริเวณส้นเท้าด้านฝ่าเท้าและข้อเท้าด้านบน ซึ่งเป็นจุดที่ว่างผลต่อเอวและก้นกบ การนวดบริเวณฝ่าเท้าให้ใช้นิ้วหัวแม่มือนวดให้ทั่วสัก 10 นาที และการนวดข้อเท้า ให้ใช้นิ้วทั้งหมด 4 นวด 10 นาทีการทำเป็นประจำ จะช่วยบรรเทาและป้องกันอาการปวดเอวและก้นกบได้เป็นอย่างดี
     

     

     
     
     
    โครงงานสุขศึกษาและพลศึกษา
     (ช่วงชั้นที่ 3)
    เรื่อง “เส้นทางสู่สุขภาพ”
     
     
     
    คณะผู้จัดทำ
                      1. เด็กหญิงศริญญา  แสนสี                                                                                                      
                      2. เด็กหญิงอรพรรณ  งานดี                                                                
                      3. เด็กหญิงพัชรี  พิสุทธิ์                                                               
                      4. เด็กหญิงอาภัสรา  หวานใจ
     
     
     
    ครูที่ปรึกษา
                      1. นางลาวัณย์  นพพิบูลย์                                                                                                      
                      2. นางสุรีพร  สุนทรักษ์     
    โรงเรียนอำนาจเจริญ อำเภอเมือง
    จังหวัดอำนาจเจริญ
       สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอำนาจเจริญ
        สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    กระทรวงศึกษาธิการ
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน
    นิยายแฟร์ 2024

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×