ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    โครงงานสุขศึกษา ม. 4

    ลำดับตอนที่ #12 : บทที่ 5 โครงงานเจลฯ

    • อัปเดตล่าสุด 2 ก.ค. 55


    บทที่ 5
    สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
    ตอนที่ 1  การสกัดด้วยตัวทำละลาย
    1.  ขมิ้น เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้สีเหลืองอ่อน มีกลิ่นขมิ้นเล็กน้อย และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้สีเหลืองเข้ม มีกลิ่นขมิ้นมาก
    2.  ใบเตย เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีเขียวอ่อน มีกลิ่นหอมใบเตยเล็กน้อยและเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีเขียว มีกลิ่นหอมใบเตยมาก
    3.  ตะไคร้หอม เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีขาวขุ่น มีกลิ่นหอมเล็กน้อย และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีขาวขุ่น มีกลิ่นหอมปานกลาง
    4.  ดอกอัญชัน เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีน้ำเงินอ่อน มีกลิ่นเฉพาะตัว และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีน้ำเงินเข้ม มีกลิ่นเฉพาะตัว
    5. ดอกมะลิ เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีขาวมีกลิ่นหอมมาก และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีขาวมีกลิ่นหอมปานกลาง
    6.  แครอท  เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีส้ม มีกลิ่นแครอทปานกลาง และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวมีสีส้ม มีกลิ่นหอมเล็กน้อย
    7. ไพล เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมเล็กน้อย และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมปานกลาง
    8. แคนตาลูป เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมเล็กน้อย และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมเล็กน้อย
    9. ขิง  เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมปานกลาง และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมเล็กน้อย
    10. สตอเบอรี่ เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีชมพูเข้มมีกลิ่นหอมปานกลาง  และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีชมพูเข้มมีกลิ่นหอมเล็กน้อย
    11.  แตงโม เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีแดงเข้มมีกลิ่นหอมปานกลาง และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีแดงเข้มมีกลิ่นหอมเล็กน้อย
    12. มะละกอ  เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมปานกลาง และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมเล็กน้อย
    13. มะเขือเทศ เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีแดงอ่อนๆมีกลิ่นหอมปานกลาง  และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีแดงอ่อนๆมีกลิ่นหอมเล็กน้อย
    14. ดอกลีลาวดี  เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมเล็กน้อย และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมปานกลาง
    15. ยูคาลิปตัส  เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีขาวมีกลิ่นหอมปานกลาง และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีขาวมีกลิ่นหอมมาก
    16. ขึ้นฉ่าย  เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีขาวมีกลิ่นหอมปานกลาง  และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีขาวมีกลิ่นหอมมาก
    17. ฟักทอง  เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมปานกลาง และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมเล็กน้อย
    18. ดอกกุหลาบ  เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีชมพูมีกลิ่นหอมเล็กน้อย  และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีชมพูมีกลิ่นหอมปานกลาง
    19. กระชาย เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมเล็กน้อย  และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมปานกลาง
    20. ดอกเฟื่องฟ้า  เมื่อสกัดด้วยน้ำเย็นจะได้ของเหลวสีชมพูมีกลิ่นหอมเล็กน้อย  และเมื่อสกัดด้วยน้ำร้อนจะได้ของเหลวสีชมพูมีกลิ่นหอมปานกลาง
     
    ตอนที่ 2  การทำเจลล้างมือกลิ่น/สีธรรมชาติจากสมุนไพรชนิดต่างๆ
              ตอนที่  2.1  การทำเจลล้างมือกลิ่น/สีธรรมชาติจากดอกมะลิดอกมะลิ
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากดอกมะลิ อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้ เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นดอกมะลิหอมพอดี สีสันสดใสเป็นธรรมชาติ
              ตอนที่  2.2  เจลล้างมือกลิ่นตะไคร้หอม/สีน้ำเงินจากดอกอัญชัน
    เจลล้างมือ:กลิ่นตะไคร้หอม/สีน้ำเงินจากดอกอัญชัน อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็น
    อัตราส่วนที่ทำให้ เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นดอกตะไคร้หอมหอมพอดี สีสันสวยงามเป็นธรรมชาติ
              ตอนที่  2.3  การทำเจลล้างมือกลิ่น/สีธรรมชาติจากใบเตย
                  เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากใบเตย  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นดอกใบเตยหอมพอดี สีสันสวยงามเป็นธรรมชาติ
              ตอนที่  2.4  การทำเจลล้างมือเจลล้างมือกลิ่น/สีธรรมชาติจากขมิ้น
                  เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากขมิ้น  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นดอกขมิ้นหอมพอดี สีสันสวยงามเป็นธรรมชาติ
              ตอนที่  2.5  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากแครอท
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากแครอท  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นแครอทหอมพอดี
    ตอนที่  2.6  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากไพล
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากไพล  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นไพลหอมพอดี
    ตอนที่  2.7  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากแคนตาลูป
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากแคนตาลูป  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นแคนตาลูปหอมพอดี
    ตอนที่  2.8  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากขิง
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากขิง  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นขิงหอมพอดี
    ตอนที่  2.9  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากสตอเบอรี่
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากสตอเบอรี่  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นสตอเบอรี่หอมพอดี
    ตอนที่  2.10  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากแตงโม
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากแตงโม  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นแตงโมหอมพอดี
    ตอนที่  2.11  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากมะละกอ
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากมะละกอ  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นมะละกอหอมพอดี
    ตอนที่  2.12  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากมะเขือเทศ
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากมะเขือเทศ  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นมะเขือเทศหอมพอดี
    ตอนที่  2.13  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากดอกลีลาวดี
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากดอกลีลาวดี  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นดอกลีลาวดีหอมพอดี
    ตอนที่  2.14  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากยูคาลิปตัส
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากยูคาลิปตัส  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นยูคาลิปตัสหอมพอดี
    ตอนที่  2.15  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากขึ้นฉ่าย
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากขึ้นฉ่าย  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นขึ้นฉ่ายหอมพอดี
    ตอนที่  2.16  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากฟักทอง
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากฟักทอง  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นฟักทองหอมพอดี
    ตอนที่  2.17  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากดอกกุหลาบ
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากดอกกุหลาบ  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นดอกกุหลาบหอมพอดี 
    ตอนที่  2.18  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากกระชาย
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากกระชาย  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้
    เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นกระชายพอดี
    ตอนที่  2.19  การทำเจลล้างมือกลิ่นและสีธรรมชาติจากดอกเฟื่องฟ้า
    เจลล้างมือ:กลิ่น/สีธรรมชาติจากดอกเฟื่องฟ้า  อัตราส่วน 2,000 มล. : 20 มล. เป็นอัตราส่วนที่ทำให้เจลล้างมือที่ได้เหนียวนุ่ม และมีกลิ่นดอกเฟื่องฟ้าหอมพอดี
     
    ตอนที่ การทดสอบหาประสิทธิภาพของเจล
              จากการนับโคโลนีจุลินทรีย์  พบว่าจานเพาะเชื่อที่ไม่ได้ใส่เจลล้างมือสมุนไพรมีจำนวนโคโลนี
    มากส่วนจานเพาะเชื่อใส่เจลล้างมือสมุนไพร พบเชื้อน้อยมาก จนแทบไม่มีเลย
     
    ตอนที่  4  การทำแบบสำรวจความพึงพอใจ   ผู้ใช้เจลล้างมือจำนวน  200  คน
    สุ่มเลือกผู้ใช้จากจำนวนนักเรียนโรงเรียนอำนาจเจริญ จำนวน 100 คน แบ่งเป็น ชาย 50 คน และเป็นหญิง 50 คน  ผู้ปกครอง ชุมชนเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนอำนาจเจริญจำนวน 100 คน  รวมทั้งสิ้น 200 คน
     
     
     
                 4.1  สำรวจความคิดเห็นก่อนดำเนินงาน  
    ที่
    กลุ่มตัวอย่าง
    คะแนนรวมระดับความพึงพอใจ
    5
    4
    3
    2
    1
    1.
    นักเรียนชาย
    318
    112
    22
    -
    -
    2.
    นักเรียนหญิง
    309
    118
    31
    3
    -
    3.
    ครู  ผู้ปกครอง  ชุมชน
    575
    262
    98
    18
    1
    รวม
    1202
    625
    151
    21
    1
    เฉลี่ย
    60.1
    31.25
    7.55
    1.05
    0.05
     
    แผนภูมิ  ความพึงพอใจก่อนการดำเนินงาน จำนวน  200  คน
     
     
     
     
     
     
     
                 4.1  สำรวจความพึงพอใจต่อสีและกลิ่น จากเจลล้างมือสมุนไพรที่ผลิตขึ้นตั้งแต่เริ่มต้นทำโครงงานจำนวน  4  ชนิด สรุปข้อมูลดังนี้
                      กลิ่น        
     
    จำนวน (คน)
    เจลล้างมือ
    กลิ่น/สีธรรมชาติ
    จากดอกมะลิ
    เจลล้างมือ
    กลิ่นตะไคร้หอม/
    สีน้ำเงินจากดอกอัญชัน
    เจลล้างมือ
    กลิ่น/สีธรรมชาติจากใบเตย          
    เจลล้างมือ              กลิ่น/สีธรรมชาติ
    จากขมิ้น
    นักเรียนชาย
    38
    4
    6
    2
    นักเรียนหญิง
    41
    3
    5
    1
    ครู
    30
    -
    5
    -
    ผู้ปกครอง
    29
    -
    1
    -
    ชุมชน
    27
    -
    6
    2
    รวม
    165
    7
    23
    5
    เฉลี่ย
    82.5
    3.5
    11.5
    2.5
    แผนภูมิ  ความพึงพอใจต่อชนิดกลิ่นเจลล้างมือจำนวน  200  คน
    คุณภาพของเจลล้างมือกลิ่นสมุนไพร
    1.  สามารถทำความสะอาดเชื้อโรคที่มีอยู่บนมือได้
    2.  มีกลิ่นหอม สีสันสวยงามเป็นธรรมชาติดึงดูดความสนใจของผู้ใช้
    3.  สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน
    ลู่ทางการนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
    1.  สามารถทำใช้เองที่บ้านได้ และลดค่าใช้จ่ายภายในบ้านได้อีกด้วย
    2.  เพื่อความสะดวกสบาย เพียงนำเจลมาถูที่มือ เจลก็จะระเหยไป โดยไม่ต้องใช้น้ำล้าง               ทำให้เป็นวิธีที่ง่ายและสะดวกมาก
    3.  นำมาเป็นสิ่งประดิษฐ์เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวได้
    4.  เป็นการฝึกทักษะในการคิดค้นทดลอง โดยนำสิ่งที่เหลือใช้จากธรรมชาติมาแปรรูป                     ให้เกิดประโยชน์
    5.  เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรที่มีกลิ่นหอม มีสีสันสวยงามมาใช้ในการบำบัดรักษาโรค
    ประโยชน์ที่ได้รับ
    1.  พัฒนาทักษะกระบวนคิดอย่างเป็นระบบ  และทำให้เกิดความสามัคคีใหม่ในหมู่คณะ
    2.  ริเริ่มสร้างสรรค์การนำเอาสมุนไพรบริเวณรอบบ้านมาแปรรูปให้เกิดประโยชน์
    3.  ใช้เวลาว่างที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์
    ข้อเสนอแนะ
    1. ควรเพิ่มกลิ่นให้มีความหอมมากๆมีหลากหลายกลิ่น เช่น  มะกรูด มะนาว  มะพร้าวสีสดๆ
    2. นำผลงานไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น ใช้ล้างมือในห้องน้ำชาย-หญิงในโรงเรียน สถานที่ต่างๆ
    หมายเหตุ
    1. ได้นำผลงานมาปรับปรุงพัฒนาจากเบื้องต้นนั้นผลิตเจลล้างมือสมุนไพรจำนวน  4  ชนิดเพิ่ม
    เป็น  20  ชนิด
    1. ได้นำผลงานไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น ใช้ล้างมือในห้องน้ำในโรงเรียน
     
     
     
     
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน
    นิยายแฟร์ 2024

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×