ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    สรุปเนื้อหา วิชาอารยธรรมตะวันตก และประวัติศาสตร์ ม.5

    ลำดับตอนที่ #24 : สงครามโลกครั้งที่ 1

    • อัปเดตล่าสุด 3 มี.ค. 55


    สงครามโลกครั้งที่ 1
    (สงครามเคมี เพราะมีการใช้แก๊สพิษ)
    ค.ศ. 1914 - 1918

    WW1 TitlePicture For Wikipedia Article.jpg
     รูปภาพเรียงตามเข็มนาฬิกาเริ่มจากภาพบนสุด: สงครามสนามเพลาะในแนวรบด้านตะวันตก; รถถัง Mark IV ของอังกฤษกำลังเคลื่อนผ่านสนามเพลาะ; HMS Irresistible เรือรบหลวงแห่งราชนาวีอังกฤษกำลังอับปางหลังจากปะทะเข้ากับทุ่นระเบิด ในยุทธนาวีดาร์เนลส์; ทหารอังกฤษในหน้ากากกันแก๊สกำลังคุมปืนกลวิคเกอร์ส และฝูงเครื่องบินปีกสองชั้นรุ่น Albatros D.III ของเยอรมนี

    ครั้งที่ 1 - ยุโรป

    ครั้งที่ 2 - ทั่วโลก



    แผนที่แสดงประเทศผู้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง: ฝ่ายสัมพันธมิตรในสีเขียว, ฝ่ายมหาอำนาจกลางในสีส้ม และประเทศเป็นกลางในสีเทา

    1. สาเหตุของสงคราม

    - ลัทธิชาตินิยม


    ทหารช่างอเมริกันขณะเดินทางกลับจากแนวหน้า ระหว่างยุทธการแซงมีอีล

    - การแข่งขันด้านเศรษฐกิจ

    - การแข่งขันด้านแสนยานุภาพ (ด้านของกองทัพ)


    เอชเอ็มเอส ดรีตนอท การแข่งขันทางอาวุธกองทัพเรือเกิดขึ้นระหว่างสหราชอาณาจักรกับเยอรมนี


                     ทหารปืนใหญ่อังกฤษระหว่างยุทธการอาเมียง

    - พันธมิตรไตรภาคี (อักษะ) ประกอบด้วย เยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการี อิตาลี

    - ข้อตกลงไตรภาคี(สัมพันธมิตร) รัสเซีย(จักรวรรดิ) อังกฤษ ฝรั่งเศส

    - ความไม่มั่นคงทางการเมืองบริเวณคาบสมุทรบอลข่าน

    อาร์คดยุคฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์
            อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย


    กัฟรีโล ปรินซีปถูกจับกุมทันทีหลังลอบปลงพระชนม์อาร์คดยุคเฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย

    2. ชนวนสงครามเกิดจากการลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

    3. การรบในสงครามโลกครั้งที่ 1


    ทหารเซอร์เบียขณะข้ามแม่น้ำคาลูบาราระหว่างการรบ

    - มีการประสานงานกันอย่างเป็นเอกภาพระหว่าง กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ(เกิดหลังสุด)


    ทหารแคนาดาเดินตามหลังรถถังมาร์ก 2 ของอังกฤษ ระหว่างยุทธการเนินวิมี

    - มีการผลิตอาวุธใหม่ๆเช่น ปืน Howitzer ยิงไกล 120 กม. ทำลายล้างสูง ป้อมคอนกรีตเสริมเหล็ก รถถัง ปืนกล ระเบิดมือ เรือดำน้ำ เครื่องบินรบ แก๊สพิษ เป็นต้น 


                                                                            ปืน Howitzer


    กองเรือรบประจัญบานแห่งกองเรือทะเลหลวงในมหาสมุทรแอตแลนติก

    4. ผลของสงคราม

    - ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ

    ตอนแรกฝ่ายอักษะจะชนะอยู่แล้ว แต่เยอรมันไม่มีขอบเขตในด้านของการรบ เยอรมันคิดว่าอเมริกาเป็นประเทศที่เกิดใหม่ ไม่น่าจะมีพิษสงอะไรมาก จึงโจมตีเรือรบของอเมริกา ผลก็คืออเมริกาเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตร ฝ่ายอักษะจึงแพ้ไป


    เอชเอ็มเอส ไลออนระหว่างยุทธนาวีจัตแลนด์ หลังถูกระดมยิงอย่างหนักจากเรือรบเยอรมัน

    - เกิดความสูยเสียครั้งยิ่งใหญ่ เสียชีวิต บาดเจ็บ และสูญหายกว่า 40 ล้านคนทรัพย์สินเสียหายเป็นจำนวนมาก


    ทหารเยอรมันเดินทัพผ่านที่มั่นฝ่ายอังกฤษ ซึ่งถูกยึดได้ระหว่างการรุกฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1918

    - จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ทั้ง 4 ของยุโรปล่มสลาย รัสเซีย ออสเตรีย - ฮังการี เยอรมัน และออตโตมันเติร์ก

    - เกิดสหภาพโซเวียตในยุโรป

    - ยุโรปสูญเสียสถานภาพผู้นำของโลก

    Treaty of Versailles, English version.jpg

    สนธิสัญญาแวร์ซาย(ซ้าย)  ภาพขณะที่คณะผู้แทนจากนานาประเทศกำลังลง  นามสนธิสัญญาแวร์ซาย ในห้องแห่งกระจก(ขวา)



    ประเทศเยอรมนีภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
      ดินแดนที่ผนวกเข้ากับประเทศเพื่อนบ้าน
      ดินแดนที่อยู่ใต้อำนาจบริหารของ สันนิบาตชาติ
      สาธารณรัฐไวมาร์


    - สนธิสัญญาแวร์ซาย (พระราชวังแวร์ซาย) เยอรมันต้องยินยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงครามแต่เพียงผู้เดียว


    - เปลี่ยนแปลงอาณาเขตของเยอรมันให้มีขนาดเล็กลง

    - ลดกำลังอาวุธของเยอรมัน

    - บังคับให้เยอรมันชดใช้ค่าเสียหาย



                                   องค์การสันนิบาตชาติ

    - การจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติ


                                  ทหารแอฟริกันอเมริกันกำลังเดินสวนสนามในฝรั่งเศส


    วิลสันประกาศตัดความสัมพันธ์กับเยอรมนีอย่างเป็นทางการต่อหน้ารัฐสภา 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917


                                         ทหารฝรั่งเศสที่ขัดขืนคำสั่งถูกยิง ใน ค.ศ. 1916


                           
      ทหารบัลแกเรียในสนามเพลาะเตรียมยิงอากาศยานที่กำลังมา
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน
    นิยายแฟร์ 2024

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×