ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    Memory คือ?

    ลำดับตอนที่ #7 : ความทรงจำ-ครู

    • อัปเดตล่าสุด 26 ก.ย. 53


     

     

     

     

     

    ฉันก็ไปตามทางที่หมายมุ่ง
    หวังเรืองรุ่งได้ดีเหมือนที่ฝัน
    ให้พ่อแม่ยินดีมีสักวัน
    เพื่อทดแทนคุณท่านกตัญญู
    เหลียวหลังมองโรงเรียนใจหวั่นไหว
    ยินเสียงใครดังก้องร้องให้สู้
    ให้สมหวังให้รุ่งเรืองให้เฟื่องฟู
    หากพลาดพลั้งยังมีครูอยู่ข้างเธอ

    เธออาจเป็นไม่ได้ดังใจหวัง
    ครูก็ยังภูมิใจอยู่เสมอ
    อาจไม่เด่นโด่งดังหรือเลิศเลอ
    ขอเพียงเธอเป็นคนดี...แค่นี้พอ

     

     

     

     

     

     

    ความทรงจำ-ครู

     

    สิ่งที่มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ทั่วไป มาจากหลายสิ่งหลายอย่าง และสิ่งที่สำคัญที่ทำให้มนุษย์สูงกว่าสัตว์นั้นก็คือความคิดความอ่าน

    มนุษย์ทุกคนเมื่อเกิดมาก็ต้องมาการเรียนรู้ ในสมัยก่อน ไม่มีโรงเรียนให้ศึกษาเล่าเรียน มนุษย์จึงเรียนรู้สิ่งต่างๆจากประสบการณ์ของตนเอง  ซึ่งการเรียนรู้ของคนสมัยก่อนนั้นเป็นสิ่งที่อันตรายอย่างมาก เพราะไม่มีใครมาบอกว่า อันไหนดีอันไหนไม่ดี อันไหนกินได้อันไหนกินไม่ได้ สิ่งในปลอดภัยสิ่งไหนอันตราย ทุกคนล้วนแต่เรียนรู้ด้วยตนเอง  ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาขึ้น มนุษย์ก็เริ่มที่จะเผยแพร่ความรู้ที่ตนมีให้ผู้อื่นได้รับรู้และนำไปใช้ เกิดการพัฒนามาตามยุคตามสมัย จนในที่สุดก็ได้มีอาชีพขึ้น เป็นอาชีพทีถูกเรียกกันว่าครู  ซึ่งคำว่าครู คือ บุคคลที่มีหน้าที่ หรือมีอาชีพในการสอนนักเรียน เกี่ยวกับวิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติและแนวทางในการทำงาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่างกันออกไปโดยคำนึงถึงพื้นฐานความรู้ ความสามารถ และเป้าหมายของนักเรียนแต่ละคน(คำว่า "ครู" มาจากศัพท์ภาษาสันสกฤต "คุรุ" และภาษาบาลี "ครุ, คุรุ"แปลว่าหนัก)
              อาชีพครุเป็นอาชีพที่เหนื่อย เพราะงานหนักมาก เนื่องจาก การจะสอนนักเรียนให้รู้เรื่องรับรู้ความหมายของสิ่งที่เราสอบไปนั้นเป็นเรื่องที่ยาก เพราะเด็กนักเรียนแต่ละคนมีความขยันไม่เท่ากัน และระดับความคิดความอ่านก็ไม่เท่ากันอีกด้วย


             

     

    ในวันจบการศึกษานั้น ข้าพเจ้าก็ได้ไปขอให้อาจารย์ท่านหนึ่งซึ่งเป็นที่รักของนักเรียน ช่วยเขียนบันทึกให้
              เนื้อหาข้างในสมุดที่คุณครูเขียนให้นั้นมีความดังนี้

     

           F@’RiN


    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×