ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    เปิดรั้วโรงเรียนครู "คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

    ลำดับตอนที่ #17 : สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน

    • อัปเดตล่าสุด 12 เม.ย. 55


     

    สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน
    คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

     

     

     


    วุฒิปริญญาทางการศึกษา 


    ครุศาสตรบัณฑิต (การศึกษานอกระบบโรงเรียน)
     
    Bachelor of Education (Non-Formal Education) 

     



    สังกัด
    ภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต





    แนวทางการคัดเลือกนิสิตเข้าสังกัดสาขาวิชา 
    (การคาดการณ์)

    - จำนวนรับ ประมาณ 40 คน
    -
    รูปแบบที่รับ
      ระบบแอดมิชชั่นส์
    รหัส 0036 คณะครุศาสตร์ รูปแบบรับรวม (ไม่จำแนกสาขาวิชา)

     




    บุคลิกของผู้ที่เหมาะจะเรียนในสาขาวิชานี้


    เป็นผู้ที่มีความเชื่อมั่นว่าคนเรานั้นมีศักยภาพที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองไม่ว่าจะอยู่ในสถานภาพใดก็ตาม และเป็นผู้ที่มีจิตใจที่จะช่วยเหลือผู้อื่น

     




    ขอบเขตของการเรียนในสาขาวิชา


    - ความรู้พื้นฐานทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน 
    - การจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนกับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น ผู้ใหญ่ เด็กด้อยโอกาส 

    - การสอนแบบนอกระบบโรงเรียน
    - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 

    - การพัฒนาหลักสูตรและแหล่งเรียนรู้ 
    - การฝึกอบรมและการวิจัย

     

     

     

     

    แนวทางการเลือกวิชาเอก


    รูปแบบการเลือกเรียนวิชาเอก :

    วิชาเอกคู่ระหว่างวิชาเอกภายในสาขาวิชากับวิชาเอกของสาขาวิชาอื่น

    ประเภทวิชาเอก

    วิชาเอกบังคับ

    ภายในสาขาวิชา
     

    วิชาเอกเลือก

    สาขาวิชาอื่น

    เลือกเรียน 1 วิชาเอก

    วิชาเอก

    - การศึกษานอกระบบโรงเรียน 

    สาขาวิชามัธยมศึกษา (วิทยาศาสตร์)

    - คณิตศาสตร์

    - วิทยาศาสตร์ทั่วไป

    สาขาวิชามัธยมศึกษา

    (มนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์)

    - ภาษาไทย

    - สังคมศึกษา

    - ภาษาอังกฤษ

    - ภาษาฝรั่งเศส

    - ภาษาเยอรมัน

    สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

    - สุขศึกษา

    - พลศึกษา

    สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา

    - เทคโนโลยีการศึกษา
    - คอมพิวเตอร์การศึกษา

    สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาฯ

    - จิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว

    - การศึกษาพิเศษ

    .

    หมายเหตุ : นิสิตสามารถสมัครเข้าเรียนวิชาเอกฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาได้ แต่ประธานสาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ต้องอนุมัติให้เลือกเรียนได้





    รายวิชาของวิชาเอกในสาขาวิชา

     

    วิชาเอกการศึกษานอกระบบโรงเรียน (วิชาเอกคู่ จำนวน 38 หน่วยกิต)

      1. รายวิชาบังคับ จำนวน 24 หน่วยกิต ได้แก่

           2750171 ภูมิปัญญาไทยกับการศึกษานอกระบบโรงเรียน (2)

           2750172 การศึกษาทางเลือก (2)

           2750173 ปรัชญาและมโนทัศน์ของสังคมแห่งการเรียนรู้และสังคมฐานความรู้ (3)

           2750279 การศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับผู้ใหญ่ (2)

           2750280 การศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อการเสริมสร้างพลังบุคคล (2)

           2750281 การพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ตามอัธยาศัย (2)

           2750371 การศึกษาชุมชน (2)

           2750382 นวัตกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน (2)

           2750384 การวิเคราะห์หลักสูตรและสาระการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน (2)

           2750477 การวางแผนพัฒนาโครงการการศึกษานอกระบบโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย (3)

           2750478 ประเด็นและแนวโน้มทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน (2)


       2.
    รายวิชาเลือก จำนวน 14 หน่วยกิต แบ่งเป็น

           2750276 การศึกษาทางไกลสำหรับการศึกษานอกระบบโรงเรียน (2)

           2750282 การศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับสตรี (2)

           2750283 การศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับเด็กและเยาวชนด้อยโอกาส (2)

           2750284 การศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อส่งเสริมการศึกษาสำหรับครอบครัว (2)

           2750285 การศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับผู้สูงอายุ (2)

           2750286 การออกแบบและพัฒนาแหล่งเรียนรู้สำหรับการศึกษานอกระบบโรงเรียน (3)

           2750373 การเลือกและการเขียนหนังสือสำหรับผู้ใหญ่ (2)

           2750383 การฝึกอบรมทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน (2)

           2750385 การศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับสถานประกอบการ (2)

           2750386 การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในองค์กรและชุมชน (3)

           2750406 การปฏิบัติการการศึกษานอกระบบโรงเรียน (3)

           2750473 จรรยาแห่งวิชาชีพสำหรับนักการศึกษานอกระบบโรงเรียน (2)

           2750475 การวิจัยทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน (2)




    หมายเหตุสำหรับน้องที่เลือกวิชาเอกคู่กับวิชาเอกต่อไปนี้
                        1. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป และวิชาเอกคณิตศาสตร์ สามารถศึกษารายละเอียดได้ในบทความของสาขาวิชามัธยมศึกษา (วิทยาศาสตร์)
    CLICK!
                        2. วิชาเอกภาษาไทย วิชาเอกภาษาอังกฤษ วิชาเอกสังคมศึกษา วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส และวิชาเอกเยอรมัน สามารถศึกษารายละเอียดได้ในบทความของสาขาวิชามัธยมศึกษา (มนุษยศาสตร์ - สังคมศาสตร์)
    CLICK!
                        3. วิชาเอกสุขศึกษา และวิชาเอกพลศึกษา สามารถศึกษารายละเอียดได้ในบทความของสาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา CLICK!
                        4. วิชาเอกเทคโนโลยีการศึกษา และวิชาเอกคอมพิวเตอร์การศึกษา สามารถศึกษารายละเอียดได้ในบทความของสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
    CLICK!

                        5. วิชาเอกจิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว และวิชาเอกการศึกษาพิเศษสามารถศึกษารายละเอียดได้ในบทความของสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา การแนะแนว และการศึกษาพิเศษ CLICK!






    แนวทางการประกอบอาชีพในอนาคต

     

    - ครูหรือนักการศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา และศูนย์การศึกษานอกระบบโรงเรียน
    - บุคลากรการศึกษา ด้านแนะแนวผลิตสื่อ ฯลฯ 
    - นักฝึกอบรมด้านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 
    - วิทยากรหรือนักพัฒนาทำงานกับชุมชนกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 
    - ศึกษาต่อในระดับปริญญามหาบัณฑิตทั้งในประเทศและต่างประเทศ

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×