เรื่องรกๆ - เรื่องรกๆ นิยาย เรื่องรกๆ : Dek-D.com - Writer

    เรื่องรกๆ

    เรื่องรกๆ เกี่ยวกับรก คนกินรก รึเปล่า

    ผู้เข้าชมรวม

    281

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    3

    ผู้เข้าชมรวม


    281

    ความคิดเห็น


    0

    คนติดตาม


    0
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  7 มี.ค. 57 / 14:32 น.
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

      รกเป็นอวัยวะของสัตว์ลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และเป็นอวัยวะของลูก แต่ก็ใช้ว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทุกชนิดจะมีรก เพราะยังมีสัตว์สองชนิดที่ไม่มีรก ได้แก่

      1.  1. พวกมาซูเปียน (marsupial)หรือสัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้อง ในยุคแรกๆสัตว์จะมีกระเป๋าหน้าท้องแทบทุกชนิด จนกระทั่งการให้ลูกอยู่ในท้องจะมีโอกาสรอดมากกว่า จึงวิวัฒนาการให้สัตว์พวกนี้เรื่อยมา แต่ในปัจจุบันที่ยังมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมและมีกระเป๋าหน้าท้อง เช่นจิ้งโจ้อยู่ เพราะว่า ในขณะนั้น ทวีปออสเตรเลีย ได้แยกออกจากทวีปใหญ่พอดี
      ทำให้สัตว์ที่อยู่บนแผ่นดินออสเตรเลีย วิวัฒนาการไปในแบบของมันซึ่งลูกจิงโจ้จะออกจากท้องแม่ของมันตั้งแต่ตัวเท่าปลายนิ้วก้อยแล้วไปโตต่อในกระเป๋าหน้าท้อง



      2.    2. อีกชนิดก็คือ ตุ่นปากเป็ด มันเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่ออกลูกเป็นไข่ และไม่มีหัวนม น้ำนมของมันออกมาจากรูขุมขนบริเวณหน้าท้อง

      สัตว์เกือบทุกชนิดจะกินรก หลังจากที่ลูกคลอด มีอยู่สามชนิดเท่านั้นที่ไม่กินรก คือ  แมวน้ำ  วาฬโลมา และอูฐ

      ส่วนในคนนั้นก็จะวัฒนธรรมจีน ที่จะกินรก  สัตว์ที่กินรกนั้น สามารถสันนิษฐานได้ว่าอาจติองการสารอาหารเพราะเมื่อมีลูกไม่สามารถไปหาอาหารไกลจากลูกได้ และเพื่อการปกปิดร่องรอยกับผู้ล่า  ความเชื่อที่คนกินรกนั้น ถ้าจะดูกันในทางสารอาหารแล้วก็เหมือนกนตับไปเท่านั้นเพราะธาตุเหล็กเยอะมาก รกจะหลั่งฮอร์โมน oxytocin เพื่อกระตุ้นให้แม่หลั่งน้ำนม และยังเป็น ฮอร์โมนแห่งความผูกพันด้วย  แต่ถ้ากินรกเข้าไปก็จะไม่สามารถมีฮอร์โมนนี้เพิ่มขึ้น เพระมันเป็นเป็นโปรตีน เมื่อกินเข้าไปก็ถูกย่อยเป็นกรดอะมิโนอยู่ดี แต่รกยังหลั่งฮอร์โมนอีกชนิดหนึ่ง และยังมากกว่า oxytocin ด้วย ฮอร์โมนชนิดนี้ จะช่วยให้มดลูกบีบตัวเวลาคลอด มันมีชื่อว่า prostaglandin ฮอร์โมนชนิดนี้เป็นประเภทสเตอรอยด์ ซึ่งเมื่อกินก็นำไปใช้ประโยชน์ได้เลย  แต่ก็ไม่ทราบว่าจะกินไปทำไม

      รกแมว



      ที่มา รายการ witcast EP 10.1

       

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×