ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ความน่ากลัวของเอดส์

    ลำดับตอนที่ #2 : พลังต่อสู้ของเชื้อ HIV

    • อัปเดตล่าสุด 14 ส.ค. 49


    ไวรัสทุกชนิดจะเข้าไปสุ่ร่างกายคน เข้าไปสู่เซลล์ต่างๆของร่ายกาย และขยายพันธุ์
    ทำให้เซลล์ๆนั้นตายลงไป และเจ้าเชื่อเอชไอวีที่เรากำลังพูดอยู่นี้ มันก็ไม่น้อยหน้า จริงๆพลังของมันน้อยมาก แต่ว่าจากความอ่อนแอของมัน มันจึงมีความสามารถพิเศษที่สามารถ เข้าไปในร่างกายคน เข้าไปในเซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีชื่อว่า CD4 และ ดูดพลังของเม็ดเลือดขาวCD4จนแข็งแกร่ง มีร่างกายสมบูรณ์ จากนั้น มันก็ฆ่าเม็ดเลือดขาวCD4ทิ้งซะ เพราะว่าถ้าเก็บไว้ จะเป็นอันตรายต่อตัวมันเอง พอได้พลังจากเม็ดเลือดขาวมา แต่ยังไงมันก็ยังขาดกองทัพที่จะไปรบกับเม็ดเลือดขาวอยู่ดี
    มันจึงขายพันธุ์จาก 1 ตัวเป็น 5000 ตัว เชื้อตัวใหม่ที่ออกมาก็จะเข้าไปเม็ดเลือดขาว
    CD4 เม็ดอื่นๆต่อไป จนกระทั่ง 3-5  วันในตัวเราก็จะมีเอชไอวีเต็มรางกาย หมายความว่า พวกมันสามารถแพร่เชื้อได้ 3-5 วันเท่านั้น ในขณะเดียวกัน เม็ดเลือดขาวที่ถูกทำลายลงเรื่อยๆ ก็จะลดลงและร่างกายก็จะไม่มีภูมิคุ้มกัน และไม่สามารถสู้กับโรคแทรกซ้อนต่างๆได้ แต่ว่าเราจะเจ็บป่วยเมื่อใดละ มาดูกัน
              ปกติในตัวคนเรา เม็ดเลือดขาวCD4จะมีพลังต่อสู้อยู่ที่ 529-1351 หน่อยต่อขนาดเท่าหนึ่งเมล็ดงา(1 ไมโครลิตร) ถ้าเม็ดเลือดขาวCD4 ถูกทำลายจนเหลือน้อยกว่า 300 หน่อยละก็ก็จะมีโรคแทรกซ้อนดังนี้ เช่น วัณโรค ท้องเสีย เชื้อราในปาก ริ้วขาวข้างลิ้น เป็นต้น 
              และถ้าโดนทำลายจนเหลือน้อยกว่า 200 หน่อยก็จะมีโรคแทรกซ้อนที่หนังกว่าอีกคือ เชื้อราในเลือด เชื้อราเยื่อหุ้มสมอง ปอดอักเสบ ฝีในสมอง มะเร็ง 
             ถ้าต่ำกว่า 10 หน่วย ก็ยังมีชีวิตอยู่ได้ แต่ว่าคงจะไม่เหลือพลังที่จะอยู่ต่อไปได้อีกแล้วละ พูดง่ายๆว่าระยะนี้ คงอยู่ได้อีกไม่นาน ถ้าควบคุมโรคแทรกซ้อนได้ก็จะ
    มีชีวิตอยู่ต่อไปได้
              ปัจจุบันการแพทย์มีการใช้ยาเพื่อที่จะทำให้พลังของเม็ดเลือดขาวCD4เพิ่มขึ้น
    เพื่อควบคุมโรคแทรกซ้อนได้
    1.ใช้ยาต้อนไวรัส ปัจจุบัน2549 มีการใช้ยาต้านไวรัสเอชไอวี
    ที่เป็นยาสังเคราะห์มาเพื่อหยุดยั้งการขยายพันธุ์ของเชื้อเอชไอวี
    2.การรักษาโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
    3.รักษาตัวเองด้วยหลัก 5 อ. (อาหาร อากาศ อารมณ์ ออกกำลังกาย อุจจาระ)
    4.การได้รับกำลังใจจากคนรอบข้าง

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×