ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    กระบวนการสังเคราะห์แสง!

    ลำดับตอนที่ #1 : การแบ่งประเภทของสิ่งมีชีวิต

    • อัปเดตล่าสุด 25 ก.ย. 53


     อ่า...

    อันดับแรกเรามาดูกันก่อน ว่า "การสังเคราะห์แสง"เนี่ย  มันคืออะไร

    มันก็คือ กระบวนการสังเคราะห์สารชีวโมเลกุล จาก CO +H2O โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์เป็นตัวช่วยนั่นเอง


    แล้ว สมช.(สิ่งมีชีวิต) ที่สังเคราะห์แสงได้มันมีอะไรบ้าง

    ก็จะมีพวก พืช สาหร่ายสีเขียว แบคทีเรียบางชนิด



    แล้ว สมช.ที่ สังเคราะห์แสง(สคส.)ได้ กับไม่ได้ มันต่างกันยังไง????

    ก็สมช.ที่สังเคราะห์แสงได้ มันมีสีเขียวไงล่ะ   ส่วน สมช.ที่สังเคราะห์แสงไม่ได้ มันไม่มีสีเขียว



    เราแบ่งสมช.เป็น2ชนิด ตามการสังเคราะห์แสง

    1.Autotrophs : มันเป็นสมช.ที่สังเคราะห์สารอินทรีย์ใน สิ่งแวดล้อม(สวล.)ได้

                 ก็จะแบ่งเป็นสองชนิดอีก ก็คือ
                     1.1)Photoautotrophs : ใช้แสงเป็นแหล่งพลังงาน   
                     1.2)Chemoautotrophs : ไม่ต้องการแสง พลังงานมาจากการออกซิไดซ์ซัลเฟอร์และแอมโมเนีย
                                                                 จากใน ดิน ในอากาศ

                อ่ะ  แล้วถามว่า  พืช เป็นพวกไหน  ก็คือพวกใช้แสงใช่ไหม
                      แล้วแบคทีเีรียล่ะ  แสงส่องมาแล้วมันสร้างอาหารได้เหรอ ไม่ใช่ๆ มันคือChemoautotrophsนะ

    2. Heterotrophs : มันเป็นสมช.ที่สังเคราะห์สารอินทรีย์ในสวล.ไม่ได้  แต่มันจะได้สารอินทรีย์มาจากไหนล่ะ?
                                   ก็มาจากการกิน!!ไอ้พวกข้างบนนั้น  แล้วก็กินพวกเดียวกันเองไงล่ะ(โอ้ย โหดเหี้ยม..)
                                  พอมันกินอาหารเข้าไป ก็จะไปย่อมในร่างกาย แล้วได้สารอินทรีย์มา  
                                  แล้วมันก็เอาไปสร้างใช้เอง ในร่างกาย
                    ไอ่พวกโหดเหี้ยมนี้ก็จะแบ่งเป็นสองชนิดเหมือนกัน  ก็คือ
                  
                      2.1)Photoheterotrophs : เวลามันสังเคราะห์สาร มันต้องใช้พลังงานแสง
                                                                 (ไม่ใช่สร้างนะ..ก็คือเอาสารที่   ย่อยมาใช้ในร่างกายอ่ะ) 
                      2.2)Chemoheterotrophs :ก็ตรงข้ามกับข้างบน ก็คือ เวลาสังเคราะห์สาร ไม่ต้องใช้พลังงานแสง นั่นล่ะ


    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×