ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    สำนักพิมพ์ Hidego

    ลำดับตอนที่ #36 : วารสาร รายสัปดาห์ ฉบับที่ 35

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 147
      0
      15 ม.ค. 59

    วารสาร Hidego รายสัปดาห์

    ศุกร์ที่ 15 มกราคม 2559

                 สวัสดีพี่น้องชาวไทย พบกันอีกครั้ง ณ ศุกร์ที่ 15 มกราคม 2559 กับวารสารฮิเดโกะฉบับที่ 35

                หายไปอีกแล้วสินะ . . . . ไม่ได้หายไปไหนนะ เจ้าลูกชายเครื่องใหม่ยังไม่ได้ตอนนี้ เลยต้องมานั่งอัพ ณ ร้านเน๊ตไปก่อน ซึ่งใช้เวลานานมากกว่าจะทำเสร็จ ว่าไปนั้น . . . ตอนนี้วารสารก็นำความรู้มาให้อีกแล้ว
                วารสารฉบับนี้เราจะพาไปดู คำช่วย ので, , ながらมหาลัยที่จะนำเสนอ College of Business and Communication ตำนานเทพญี่ปุ่น บทที่ 1 ตำนานแห่งเทพ อิซานากิ อิซานา มีอาหารประจำสัปดาห์นี้คือ แป้งพายร่วน Short Pastry

     

    คำช่วยので

    เป็นคำช่วยที่ทำหน้าที่เชื่อมประโยค วางไว้หลังประโยคที่เป็นเหตุ เหตุ のでผล.....ใช้กับกริยารูปธรรมดา, คุณศัพท์ คุณศัพท์ (คงรูป ), และนาม (เดิม )

                    1. แสดงเหตุผล = เพราะว่า.......

    2. ใช้แสดงเหตุผลประกอบการขอร้องอย่างสุภาพ

    อ่านรายละเอียด

     

    คำช่วย

    เป็นคำช่วยที่ทำหน้าที่คำสันธานเชื่อมประโยค

                    1. แสดงความต่อเนื่องของกริยา เมื่อเสร็จจากกริบา 1 ก็ทำกริยา 2 ต่อไป กริยา1 รูป กริยา 2 รูป กริยา 3 ..........= ทำ..... แล้วก็......

    2. แสดงเหตุผล กริยาบอกเล่า / ปฏิเสธรูป …….」、「คุณศัพท์ ตัด +く…..」、「คุณศัพท์ ตัด …….ประโยคที่ตามมาจะเป็นประโยคแสดงความรู้สึก หรือเกี่ยวกับจิตใจได้ อย่างไรก็ตามเหตุการณ์ในประโยคหน้าจะเกิดก่อนประโยคหลังเสมอ

    3. บอกวิธีการ

    4. เชื่อมคุณศัพท์ ที่มาข้างหน้ากับคุณศัพท์ข้างหลัง มีความหมายคล้อยตามกัน คุณศัพท์ ตัด+くคุณศัพท์.......

    5. วางไว้หน้ากริยานุเคราะห์ (補助動詞)เช่น ......いる、......ある、.....くれる、.....あげる、.......もれうเป็นต้น

    6. จบประโยคด้วยกริยารูป คือละ くださいไว้ หรืออาจมีคำช่วยจบประโยค เช่น ตามมา มีความหมายเชิงขอร้อง ชักชวน ในการพูดแบบกันอง

    อ่านรายละเอียด

     

    คำช่วย ながら

    เป็นคำช่วยที่ทำหน้าที่เป็นคำสันธานเชื่อมประโยค

                    1. กริยา 1 รูป ますตัด ますながらกริยา 2..........= ทำกริยา 1 พลาง ทำกริยา 2 เป็นการเชื่อมกริยา 2 ตัวที่ทำพร้อม ๆ กัน ความสำคัญอยู่ที่กริยา 2 และประธานของกริยาทั้ง 2 ตัว คือคน ๆ เดียวกัน

    2. เชื่อมประโยคที่ขัดแย้งกัน = ทั้ง ๆ ที่.....

    3. คำนาม ながら…..บอกความขัดแย้ง = ทั้ง ๆ ที่.....

    4. จำนวน ながら………= ทั้งหมด...........

    5. ใช้กับสำนวน

    อ่านรายละเอียด

     

    College of Business and Communication

    CBC ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1948 โดยได้รับการสนับสนุนจากอำเภอคาวาซิก่อตั้งเป็นโรงเรียนภาษาอังกฤษประชาชนชาวคาวาซากิ และเมื่อปี ค.ศ. 1987 เป็นวิทยาลัยวิชาชีพแห่งปรกในจังหวัด Kanagawa ที่เปิดภาควิชาภาษาญี่ปุ่นที่รับนักศึกษาตากต่างชาติ จนถึงปัจจุบันมีนักศึกษาหลายชาติเข้ามาศึกษา และสำเร็จการศึกษาไปแล้วมากกว่าพันคน นักศึกษาส่วนใหญ่ศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัย วิทยาลัยวิชาชีพชั้นสูงของญี่ปุ่น หรือได้งานตามที่ต้องการปละประสบความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของตน

    อ่านรายละเอียด

     

    ตำนานเทพญี่ปุ่น

                ตามความเชื่อถือในลัทธิชินโต เรื่องของอิซานากิและอิซานามิเกิดขึ้นหลังสรรค์และพื้นโลกแยกออกจากความสับสนอนธการแผ่นฝ้าโค้งตัวรองผืนดิน แยกเป็นสรรค์ชัดเจน จากนั้นก็มีเทพต่าง ๆ เกิดขึ้นในสรวงสรรค์มากมาย แต่เทพคู่สำคัญซึ่งเป็นต้นวงศ์ของชาวญี่ปุ่น คือ เทพอิซานากิและอิซานามิ เกิดขึ้นเป็นเทพคู่ที่แปด ซึ่งทั้งสองจะซื่อเต็ม ๆ ว่า อิซานากิโน มิโกโต และ อิซานามิ โน มิโกโต แปลว่าชายที่น่าเคาระ และหญิงที่น่าเคารพ

    บทที่ 1 ตำนานแห่งเทพ อิซานากิ อิซานามิ

    ตามความเชื่อถือในลิทธิชินโต เรื่องของ อิซานากิ และ อิซานมิ เกิดขึ้นหลังจากที่สวรรค์และพื้นโลกแยกออกจากความสับสนอนธการแผ่นฟ้าโค้งตังรองผืนดิน แยกเป็นสวรรค์ชัดเจน จากนั้นก็มีเทพต่าง ๆ เกิดขึ้นในสรวงสวรรค์มากมาย แต่เทพคู่สำคัญซึ่งเป็นต้นสงศ์ของชาวญี่ปุ่นคิอ เทพอินาซากิ แบะอิซานามิ เกิดขึ้นเป็นเทพคู่ที่แปด

                ทั้งสอง ..... อิซานากิ อิซานามิ มีชื่อเต็ม ๆ ว่า อิซานากิ โน มิโกโต และ อิซานามิ โน มิโกโต แปลว่า ชายที่น่าเคารพ และหญิงที่น่าเคารพตามลำดับ

                อิซานกิและอิซานามิ ได้รับคำสั้งให้สร้างเกาะญี่ปุ่นขึ้น ทั้งสองยืนอยู่บนสะพานลอยแห่งสวรรค์คนละข้าง ค่อย ๆ ลดปลายหอกศักดิ์สิทธิ์ประดับเพชรพลอยลงไปในทะเล แล้วกวนน้ำอย่างช้า ๆ ครั้นยกปลายหอกขึ้น น้ที่ติดอยู่กับปลายอาวุธนั้นก็หยดลง กลายเป็ยเกาะเป็นแผ่นดินแข็ง ๆ อันแรก เทพทั้งสองก็ลงไปพำนักกันบนเกาะแห่งนั้นสร้างเสาแห่งสวรรค์ขึ้น พร้อมกับประราชวังอันงดงาม

    อ่านรายละเอียด

     

    อาหารประจำสัปดาห์

    ใคร ๆ ก็เข้าครัว วันนี้คือ

    แป้งพายร่วน Short Pastry

    แป้งพายร่วน Short Pastry แป้งอบที่สามารถนำไปทำขนมได้หลายชนิด เช่น ทาร์ตบลูเบอร์รี่ และถ้านำแป้งไปกรุในถ้วยจีบก็จะได้เป็นบลู­เบอร์รี่พาย หรือบลูเบอร์รี่ชีสเค้ก

    ส่วนผสมสำหรับ 15 ชิ้น

    1. เนยเย็นหั่นเต๋า 175 กรัม

    2. น้ำตาล 80 กรัม

    3. ไข่ 25 กรัม (หรือ 1/3 ฟอง)

    4. แป้งอเนกประสงค์ 250 กรัม

     

    อุปกรณ์

    1. มีด

    2. ถาดเข้าอบ

    3. ถ้วยจีบ

    4. ที่ตัดคุกกี้

    5.ส้อม

    6. แร๊ปพลาสติก

    7.กรรไกร

    วิธีทำ

    1. อุ่นเตาอบที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียล

    2. ผสมแป้งกับน้ำตาลคลุกเคล้าจนเข้ากัน

    3. เทแป้งลงบนโต๊ะที่สะอาดเป็นกองภูเขา

    4. เจาะช่องตรงกลาง

    5. ใส่ไข่ลงตรงกลาง คลุกให้เข้ากัน

    6. แร๊ปพักไว้ในตู้เย็น 1 ชม.

    7. นำออกมานวดให้คลายตัวนิดหน่อย

    8. ใช้ไม้นวดแป้งค่อยๆคลึงแป้งให้มีความหนาเสมอกันประมาณ 3มิลลิเมตร

    9. ใช้ตัวตัดวงกลมตัดตามต้องการ

    10. ขึ้นรูปในพิมพ์ถ้วย กรุด้านในและใช้ส้อมเจาะตรงกลางประมาณ 3 ครั้ง วางทับด้วยห่อข้าวที่ทำไว้

    11. หรือหลังจากตัดเจาะรูด้วยซ่อมและวางไว้ในถาดที่ทาเนยไว้

    12. นำไปอบในเตา 15นาที (ถ้าชิ้นเล็ก 15-25 นาที)

    13. เมื่อสุกนำมาพักบนตะแกรงจนเย็น

    เคดิต ขอขอบคุณ FoodTravel.tv ใครๆ ก็เข้าครัว

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×