ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    `彡 Lotte Ghost [Japan] - ล็อตเต้เปิดตำนานผีญี่ปุ่น

    ลำดับตอนที่ #7 : `彡 Lotte Ghost [Japan] :: คิวบิคิตสึเนะ { ปีศาจจิ้งจอก 9 หาง }

    • อัปเดตล่าสุด 27 มิ.ย. 57








                คิตสุเนะ (ปิศาจจิ้งจอก) ชาวญี่ปุ่นโบราณมักมีความเชื่อเสมอว่าสุนัขจิ้งจอกตนใดที่มีอายุเกิน100ปี

    ขึ้นไป
    สุนัขจิ้งจอกตัวนั้นจะกลายเป็นปิศาจจิ้งจอก และปิศาจจิ้งจอกมักจะแปลงกายมาสร้างความวุ่นวายให้กับ

    ชาวบ้านอยู่เสมอ ปิศาจจิ้งจอกนั้นสามารถสร้างภาพที่เคลื่อนไหวต่างๆให้เป็นภาพลวงตาไว้คอยกลั่นแกล้ง

    นที่เดินทางผ่านป่าตอนกลางคืนได้ และมีตำนานที่เล่าถึง อนเมียวโคคุบงคิวบิ หรือ ปิศาจจิ้งจอกเก้าหาง

    หนึ่งในผีๆชื่อดังของญี่ปุ่นอีกด้วย ตำนานมีอยู่ว่า ปิศาจจิ้งจอกเก้าหางได้จำแลงร่างเป็นหญิงงามนามว่า

    ทามาโมะ มาเอะ และได้ลอบเข้าไปในวังจักรพรรดิ์ในฐานะสนมเอกซึ่งท่านโชกุนเองก้ได้ถูกมนต์เสน่ห์ของ

    างจนลุ่มหลงมัวเมา นางปิศาจคอยยุยงให้จักรพรรดิ์ก่อสงครามทำลายมนุษย์ด้วยกันเองมากมาย แต่ในที่

    สุดโชกุนได้พบกับนักบวชผู้หนึ่ง นักบวชบอกว่าแท้จริงแล้วสนมเอกเป็นนางผีจิ้งจอกแปลงกายมา เมื่อรู้ความ

    จริงแล้วนางปิศาจจิ้งจอกก็ได้เผยร่างจริงออกมาเป็นสุนัขจิ้งจอกตัวใหญ่สี
    ทองอร่าม สูงเท่ากำแพงวัง

    จักรพรรดิ์ และมีเก้าหาง จิ้งจอกเก้าหางได้หนีไป ทางโชกุนเองก้ได้ส่งกองทหาร 15000 คน ตามไปต่อสู้กับ

    นาง มาจนถึงหุบเขาเมียวโค นางจิ้งจอกเก้าหางได้สู้กับกองทหาร ท้ายสุดนางก้พ่ายแพ้ไปและร่างกายสลาย

    กลายเป็นหินก้อนหนึ่งเรียกว่าหินฟุโยเคอิ (หินชี
    วีสังหาร) ซึ่งวันดีคืนดีหินนั้นจะปล่อยแก๊ซพิษออกมาคร่า

    ชีวิตชาวบ้านแถวนั้น ซึ่งสถานที่ๆกล่าวมานั้นในปัจจุบันเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญในจังหวัดนิงาตะ และหิน

    ฟุโยเคอินั้นก็ยังคงอยู่ตราบ


                สิ่งที่เกลียด เครื่องลาง ของขลัง และยันต์ (สิ่งของพวกนี้อาจทำลายนางไม่ได้แต่ก้ปกป้องตนเองให้

    รอดพ้นจากนางได้)
    เท่าทุกวันนี้รูปร่างลักษณะ เป็นสุนัขจิ้งจอกขนทองอร่ามทั้งตัว ตัวใหญ่ และมีหางถึงเก้า

    หาง สถานที่ปรากฏตัว แต่เดิมนางอยู่ที่หุบเขาใดไม่มีใครทราบ แต่เริ่มเข้ามาก่อกวนในราชสำนักเมื่อประมาณ

    คศ.1200 -ถูกปราบในปี คศ.1203สิ่งที่ชอบ พลังวิญญาณของมนุษย์



    © themy  butter
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×