ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    CALCULUS 1

    ลำดับตอนที่ #3 : การหาลิมิตของฟังก์ชันที่แบ่งกรณี

    • อัปเดตล่าสุด 31 ต.ค. 54


    การหาลิมิตของฟังก์ชันที่แบ่งกรณี
          ถ้าฟังก์ชันที่โจทย์กำหนดมา มีการแบ่งเป็นหลาย ๆ กรณี โดยฟังก์ชันนั้นถูกแบ่งที่ตำแหน่ง x=a และโจทย์ก็สั่งให้เราหาค่าของ  เราต้องหาแยกลิมิตเป็นสองทางคะ คือหาลิมิตที่ x เข้าใกล้ a ทางลบ(x) และลิมิต x เข้าใกล้ a ทางบวก(x) ค่ะ
          โดยถ้าเมื่อคิดสองทางนั้นแล้วมันได้ค่าผลลัพธ์ที่ออกมาเท่ากัน สรุปได้ว่า ฟังก์ชันก์ f มี
    ลิมิตที่ x = a ค๊า
          แต่ถ้าได้ผลลัพธ์ทั้งสองทางไม่เท่ากัน ก็แสดงว่า ฟังก์ชัน f ไม่มีลิมิตที่ x = a เด้อค้า!
     
    อ่านไปอ่านมาก็ดูงง ๆ ถ้างั้น เราไปดูตัวอย่างกันเลยดีกว่าเนอะ...
    มีตัวอย่างมาให้ดู 2 ข้อค่ะ!
    ========================================================================


    =========================================================================
     
    =========================================================================



    ส่วนแบบฝึกหัดมีทั้งหมด
    3 ข้อใหญ่ค่ะ และเนื่องจากว่าพิมพ์ลำบาก ดังนั้นเราขอเขียนละกันนะ ลายมือกากอย่าว่ากัน คริๆ

     


    เป็นอย่างไรกันบ้างเอ๋ย พอเข้าใจมั้ย? เห็นป่ะ ว่าพอลองทำความเข้าใจจริง ๆ มันก็ไม่ยากเลย
    เลขไม่ได้ยากอย่างที่คุณคิดนะ ^^

    ปล. เช่นเคยค่ะ ขอขอบคุณข้อมูลดีดีจากที่ตูน คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ด้วยนะค่ะ(นำมาเขียน
         โดยไม่ได้บอกกล่าวพี่เขาเลยนะ)
        และขอบคุณข้อมูลจากหนังสือแคลคูลัส 1 เล่มสีน้ำเงินด้วยค่า ~!




     
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×