ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ทดลองไร้สาระ(อย่าเข้า)

    ลำดับตอนที่ #9 : ลำดับตอนที่ 9

    • อัปเดตล่าสุด 25 พ.ค. 56


    แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์

    1.ชื่อโครงงาน สื่อ CAI เรื่อง  ความรู้ ASEAN (สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6)

    2.ชื่อผู้จัดทำโครงการ

    1.นางสาว วิภาวรรณ ศรีจันทร์  ม.6/1 เลขที่14

    2.นางสาว สายทิพย์  ปานมงคล ม.6/1 เลขที่ 15

    3.นางสาว ปาริฉัตร  บรรณสิทธิ์ ม.6/1  เลขที่

    3.ครูที่ปรึกษาโครงงาน    นางสาว วิภาวรรณ นกทวี

    4.ระยะเวลาดำเนินงาน

    5. แนวคิด ที่มา และความสำคัญ

                    การเรียนรู้วิชา สังคมศึกษาเป็นเนื้อหาวิชาที่มีความจำเป็น และเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการนำไปใช้ในรายวิชาอื่นๆ อีกทั้งเป็นเรื่องที่ต้องใช้ความจำเป็นอย่างมาก ผู้เรียนต้องหมั่นศึกษาทบทวนสม่ำเสมอ

     สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสอนนับว่าเป็นสื่อที่ตอบสนองการเรียนรู้รายบุคลเป็นอย่างดีอีกทั้งเป็นสื่อมัลติมิเดียจึงทำให้มีบทเรียนมีความน่าสนใจทั้งยังสามารถสร้างปฎิสัมพันธ์กับผู้เรียนได้และสามารถสร้างแบบทดสอบใช้ในการทดสอบผู้เรียน ซึ่งสามารถทราบผลทดสอบได้ทันที จึ้งต้องการจะทำสื่อชิ้นนี้ขึ้นมา

    วัตถุประสงค์

    1.)        เพื่อสร้างและพัฒนาสื่อ CAI เรื่อง ความรู้ ASEAN

    2.)        เพื่อหาประสิทธิภาพสื่อ CAI เรื่อง ความรู้ ASEAN

    3.)        เพื่อสอบถามความคิดเห็นผู้ใช้ที่มีต่อสื่อ CAI ที่สร้างขึ้น

     

     

    7. หลักการและทฤษฎี

                    เนื้อสาระศึกษาเนื้อหาจากบทเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่6 และเพิ่มเติมจาก Intrenet โดยจะแยกเนื้อหาเป็นเนื้อหาบทย่อยๆดังนี้

                    - ประชาคมอาเซียน

                    - .บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)

                    - ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)

                    - สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)

                    - สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) (The Lao People's Democratic Republic of Lao PDR)

                    - ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)

                    - สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines)

                    - สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore)

                    - .ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)

                    - สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam)

                    - สหภาพพม่า (Union of Myanmar)

                    การสร้างเนื้อหาบทเรียนจะทำในลักษณะบทเรียนแบบสาขา โดยใช้โปรแกรม Adobe Captivate 3 ในการสร้างเนื้อหา ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว  และคลิปวีดีโอ ปรกอบเนื้อหามีการบรรยายเสียงประกอบตามเนื้อหาที่ปรากฎ

                   

     

     

     

    8.วิธีดำเนินงาน

    ขั้นตอนการดำเนินงาน

    วัสดุอุปกรณ์

    งบประมาณ

    ผู้รับผิดชอบ

    1.) ศึกษาค้นคว้าวางแผน

    Computer

    …………….

    ทุกคน

    2.) ทำแบบเสนอโครงงาน

    Computer

    ……………..

    น.ส.สายทิพย์

    3.) ออกแบบบทเรียน

    Computer

    ……………..

    ทุกคน

    4.) สร้างและพัฒนาสื่อ

    Computer

    3000

    ทุกคน

    5.) นำไปใช้ทดลอง

    Computer

    …………….

    ทุกคน

    7.) สรุปนำเสนอ

    Computer

    …………….

    น.ส.สายทิพย์

     

    9. ขั้นตอนการดำเนินงาน

    วัน/เดือน/ปี

    กิจกรรม

    ผู้รับผิดชอบ

     

    1.)ศึกษาค้นคว้าข้อมูล                            

    ทุกคน

     

    2.) ทำแบบเสนอโครงงาน                     

    ทุกคน

     

    3.) ออกแบบบทเรียน   สร้างและพัฒนาสื่อ

    น.ส.สายทิพย์

     

    4.) ทดลองใช้ ปรับปรุง และนำเสนอผลงาน

    ทุกคน

     

    10.ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1) ได้สื่อ CAI เรื่อง ความรู้ ASEAN

                    2) สื่อ CAI  ความรู้ ASEAN  ที่สร้างขึ้นคุณภาพดี

                    3) ผู้ใช้สื่อ CAI มีความพึงใจในระดับดี

    11. เอกสารอ้างอิง

                    1) หนังสือประกอบการเรียนวิชาสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

                    2) เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ ความรู้ ASEAN

                    3) เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ  การสร้างสื่อ CAI 

                    4) หนังสือการจัดทำสื่อ CAI ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate 3

                    5) เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ  การใช้โปรแกรม Adobe Captivate 3

    12.ผลการพิจารณาโครงงาน

                      อนุมัติ          ควรปรับปรุง

     

     

                 ลงชื่อ.....................................................ครูทีปรึกษาโครงงาน

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×