ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ฟิสิกส์ ม.ปลาย

    ลำดับตอนที่ #32 : การต่อตัวต้านทาน

    • เนื้อหานิยายตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 913
      0
      21 ก.พ. 52

    การต่อตัวต้านทาน

    การต่อตัวต้านทาน แบ่งออกเป็น 3 วิธีคือ

    1. การต่อแบบอนุกรม เป็นการนำเอาตัวต้านทานมา

    ต่อกันตามยาว

    R1 , R2 , R3 - ความต้านทานที่นำมาต่อแบบอนุกรม

    V1 , V2 , V3 - ความต่างศักย์ที่วัดได้บน R1 , R2 , R3

    I1 , I2 , I3 - กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R1 , R2 , R3

    สรุปได้ดังนี้

    1. Rรวม หรือ RAB = R1 , R2 , R3

    2. Iรวม หรือ IAB = I1 = I2 = I3

    3. Vรวม หรือ VAB = V1 + V2 + V3 = I1R1 + I2R2 + I3R3

    2. การต่อแบบขนาน เป็นการนำความต้านทานแต่ละ

    ตัวมาเรียงซ้อนกัน โดยจะไปรวมกันที่ปลายแต่ละข้าง

    R1 , R2 , R3 = ความต้านทานที่นำมาต่อแบบขนาน

    I = กระแสรวมที่ไหลเข้า

    VAB = ความต่างศักย์รวม

    สรุปได้ดังนี้

    2. Iรวม = IAB = I1 + I2 + I3

    3. Vรวม = VAB = V1 = V2 = V3

    ดังนั้น I1R1 = I2R2 = I3R3

    3. การต่อแบบ Wheatstone Bridge ประกอบด้วยความ

    ต้านทาน 5 ตัว ถ้าวงจรสมดุล จะไม่มีกระแสไฟฟ้าไหล

    ผ่าน R5

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×