ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    @..!i..มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกาน..i!...@

    ลำดับตอนที่ #4 : มาเรียนรู้ อักษรต่างๆ ของญี่ปุ่นกัน

    • อัปเดตล่าสุด 25 ต.ค. 50


    อักษรที่ชาวญี่ปุ่นใช้กัน จะมี 4 ชนิดคือ

    1.อักษรโรมันจิ

    เป็นตัวอักษรแทนเสียงภาษาญี่ปุ่นโดยใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อง่ายต่อการเรียนของชาวต่างชาติ คล้ายๆกับเป็นซับให้อ่านประมานนี้อ่ะค่ะ

    ki - mo - no (คิ-โมะ-โนะ) ชุดกิโมโน

    tsu - ki (ทสึ - คิ) พระจันทร์

    2.อักษร ฮิรากานะ ひらがな

    เป็นตัวอักษรที่แปลงเสียงมาจากเสียงอักษรจีนค่ะ และจะใช้เป็นคำหลักแล้วใช้ประกอบกับการอ่านตัวคันจิ

    にほん (นิฮง) ญี่ปุ่น

    わたし (วะตะชิ) ฉัน

    あなた (อะนะตะ) คุณ

    3.อักษร คะตะคะนะ カタカナ

    เป็นอักษรแทนภาษาต่างประเทศ เขียนชื่อสถานที่ ชื่อคน

    タイ (ตัย) ประเทศไทย

    フランス (ฟุรันสุ) ประเทศฝรั่งเศส

    アメリカ (อะเมะริคะ) ประเทศอเมริกา

    4.อักษรคันจิ 漢字

    เป็นอักษรจีนที่ใช้ตั้งแต่โบราณถึงปัจจุบัน แต่ละตัวจะมีความหมายในตัว สามารถอ่านได้ 2 เสียง คือ เสียงญี่ปุ่นและเสียงจีน ใช้แสดงความหมายต่างๆ เพราะอักษรของญี่ปุ่นมีการออกเสียงได้ไม่มาก ประทรวงศึกษาธิการของญี่ปุ่นได้กำหนดคันจิไว้ 1,945 ตัว หากรู้จักคันจิที่ใช้บ่อยถึง 500 ตัว จะสามารถอ่านหนังสือพิมพ์ได้ถึง 70 % แล้วถ้ารู้จักตัวคันจิ 1,000 ตัว จะสามารถอ่านหนังสือพิมพ์ได้ถึง 94 % เลยทีเดียว

    日本語 (にほん) (นิฮงโงะ) ภาษาญี่ปุ่น

    (おんな) (โอนนะ) ผู้หญิง

    (おとこ) (โอะโตะโคะ) ผู้ชาย

    --------------------------------------------------------------------------------------------------

    อักษรญี่ปุ่นนี้ยุ่งยากจังเนอะ มีต่างหลายแบบ --"

    ความจิงก้อไม่ยากอารายหรอก ถ้าเราตั้งใจเรียน 

    ตอนนี้เรากำลังเรียน อักษร โรมันจิ และ ฮิรากานะ อยู่นะจ๊ะ

    เพราตอนี้ จอย ก้อเรียน แค่ 2 อักษรนี้เอง

    แล้วตัว คันจิ นี้ ก้อคล้ายๆ กับภาษาจีนนั้นล่ะ (ไม่คล้าย ใช่เลย)

    แต่การอ่านจะเหมือนกันไม่นั้น อันนี้ก้อไม่รู้ (เพราะยังไม่เรียน --")

    แต่ตัวคันจิ สำศัญมากๆเลยนะ ส่วนมากคนญี่ปุ่นเค้าใช้กัน 

    อย่างว่า ถ้ารู้ 500 ตัว ก้อเท่ากับอ่านหนังสือพิมได้ 70% แนะ

    เครดิต http://sarangtvfxq.exteen.com/20060907/entry



    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×