ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    รัตนโกสินทร์

    ลำดับตอนที่ #2 : เหตุผลที่ย้ายเมืองหลวงมาที่กรุงเทพ

    • อัปเดตล่าสุด 7 ม.ค. 51


    สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
            เมื่อพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ฯ ขึ้นเสวยราชย์เป็นเป็นพระเจ้าแผ่นดินไทยในปี พ.ศ.2325 ได้ทรงทำพิธีตั้งเสาหลักเมืองตามประเพณี เสาหลักเมืองได้สร้างเป็นศาลเทพารักษ์เรียกกันสามัญว่า "ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง"

     การสร้างกรุงเทพ ฯ มีรับสั่งให้ย้ายเมืองหลวงมาอยู่กรุงเทพ ฯ กรุงเทพ ฯ เป็นส่วนหนึ่งของกรุงธนบุรี อยู่ฟากตะวันออก เรียกเมืองบางกอก ซึ่งมีพวกจีนอาศัยอยู่มาก เมื่อย้ายมาอยู่ฝั่งตะวันออกแล้วได้ทรงสร้างเป็นเมืองหลวงขึ้น เรียกว่า กรุงเทพมหานครบวรรัตนโกสินทร์ ต่อมาในรัชกาลที่ ๔ จึงทรงเปลี่ยนเป็น กรุงเทพพระมหานครอมรรัตนโกสินทร์

    เหตุที่ย้ายกรุงเพราะทรงเล็งเห็นว่า :-

    ๑. กรุงธนบุรีคับแคบ อยู่ระหว่างวัดเป็นการยากที่จะขยาย

    ๒. อยู่ฝั่งคตของแม่น้ำทำให้น้ำเซาะตลิ่งพังอยู่เรื่อย

    ๓. การที่มาตั้งที่กรุงเทพ ฯ นั้นที่ตั้งเหมาะสมกว่า อาศัยแม่น้ำเป็นกำแพงเมือง และตัวเมืองอาจขยายได้

    สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าทรงเป็นผู้สามารถได้ทรงแก้ปัญหาต่าง ๆ คือ พอเสวยราชย์ขึ้นครองก็ต้องรีบสร้างเมือง สร้างพระนครอยู่ ๓ ปีจึงสำเร็จ พ.ศ. ๒๓๒๘ พอสมโภชพระนครแล้ว ในปีนั้นเองพม่าก็ยกกองทัพใหญ่มาประชิดเมือง

     

     ฿ -

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×