ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ความรู้ที่จำเป็นใน วิชาวิทยาศาสตร์

    ลำดับตอนที่ #4 : วัสดุและสมบัติของวัสดุ

    • อัปเดตล่าสุด 24 มี.ค. 52


    วัสดุและสมบัติของวัสดุ��������������

    ������������� ในชีวิตประจำวันเราต้องเกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ ทำมาจากวัสดุธรรมชาติและวัสดุที่มนุษย์สร้างขึ้น ในอดีตวัสดุที่นำมาใช้ส่วนใหญ่ได้มาจากธรรมชาติ เช่น นำหินมากระเทาะทำเป็นขวานหิน นำดินมาปั้นเป็น หม้อ,โอ่ง,ไห นำหนังสัตว์มาใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น ซึ่งต่างจากในปัจจุบันที่เทคโนโลยีเจริญก้าวหน้ามากขึ้น ของใช้ต่าง ๆ จึงผลิตมาจากวัสดุที่มนุษย์สร้างขึ้น ดังนั้นวัสดุจึงมีความจำเป็นและความสำคัญมากขึ้นตามไปด้วย

    ประเภทของวัสดุ
    �������������� วัสดุในชีวิตประจำวันที่นำมาใช้ในงานต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
    1.วัสดุธรรมชาติ เป็นวัสดุที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น ดิน หิน แร่ธาตุ ต้นไม้ ขนสัตว์ เส้นใยพืช เป็นต้น การนำวัสดุธรรมชาติมาใช้ประโยชน์โดยตรงจะไม่ค่อยสะดวกในการใช้งาน
    2.วัสดุสังเคราะห์� เป็นวัสดุที่ได้จากการสังเคราะห์หรือทำขึ้นมา เช่น พลาสติก เส้นใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ แก้ว อิฐ โฟม เป็นต้น
    ��������������� นอกจากนี้ ถ้าหากพิจารณาวัสดุ โดยพิจารณาถึงสมบัติทางกายภาพซึ่งหมายถึงสมบัติของสารที่เราสังเกตได้จากลักษณะภายนอก เช่น รูปร่าง สี กลิ่น รส อุณหภูมิ จุดเดือด ความแข็ง เป็นต้น ดังนั้นหากต้องจัดวัสดุออกเป็น 2 ชนิด คือโลหะและอโลปะ

    ตัวอย่างวัสดุที่เป็นโลหะ ได้แก่ เหล็ก,ทองแดง,สังกะสี,อลูมิเนียม,ทองคำ
    ตัวอย่างวัสดุที่เป็นอโลหะ ได้แก่�� พลาสติก,ไม้,แก้ว,ยาง,ซีเมนต์

    สมบัติของวัสดุ
    �������������� วัสดุต่าง ๆ มีสมบัติที่แตกต่างกันออกไป ในการนำวัสดุมาใช้งานต้องคำนึงถึงความเหมาะสมของวัสดุนั้น ๆ เช่นถ้าต้องการลวดเพื่อทำสายไฟ จะต้องเลือกใช้วัสดุที่นำไฟฟ้าได้ดี ทนความร้อน และราคาไม่แพง เช่นทองแดง,อะลูมิเนียม สมบัติของวัสดุที่ควรศึกษาในชั้นนี้ได้แก่ ความยืดหยุ่น,ความแข็ง,ความเหนียว,การนำความร้อน,การนำไฟฟ้า และความหนาแน่น

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×