ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    • ฟอนต์ THSarabunNew
    • ฟอนต์ Sarabun
    • ฟอนต์ Mali
    • ฟอนต์ Trirong
    • ฟอนต์ Maitree
    • ฟอนต์ Taviraj
    • ฟอนต์ Kodchasan
    • ฟอนต์ ChakraPetch
Mind Map ศัพท์ญี่ปุ่น

ลำดับตอนที่ #9 : สนุกกับคำกริยา

  • อัปเดตล่าสุด 25 พ.ย. 64


TB

สนุกกับคำกริยา

            ในบทนี้ได้รวบรวมคำกริยาต่าง ๆ ที่น่าสนใจ และใช้บ่อยในชีวิตประจำวันมาบางส่วน เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจและจดจำ จึงนำมารวบรวมไว้โดยแบ่งออกเป็นหมวด ๆ เช่น การเคลื่อนไหวร่างกาย การแสดง อารมณ์-ความรู้สึก การทำกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ เป็นต้น

การเคลื่อนไหว (กริยาท่าทาง)

()

Osu

กด, ผลัก

()()げる

Mochiageru

ยกขึ้น

(はし)

Hashiru

วิ่ง

(ある)

Aruku

เดิน

()()

Furimuku

หันหลัง

(ころ)

Korobu

หกล้ม

()

Hiku

ดึง

()

Furu

โบกมือ

()()

Tobikomu

กระโจนลง

(のぼ)

Noboru

ปีน, ไต่

()ばす

Bobasu

ยืดขา

たたく

Tataku

ทุบ, ตี

()

Tobu

กระโดด

ける

Keru

เตะ

()げる

Nageru

โยน, ขว้าง, ปา

(およ)

Oyogu

ว่ายน้ำ

もぐる

Moguru

ดำน้ำ, มุด

 

 

เรื่องน่ารู้

            ชาวญี่ปุ่นมักแสดงกริยาท่าทางต่าง ๆ ที่แสดงถึงมารยาทและการสื่อความหมายต่าง ๆ ออกมา โดยแสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ในวัฒนธรรมของตน ซึ่งมีความหมายที่แตกต่างกันออกไป เช่น การโค้งในการทักทายขั้นพื้นฐานในหมู่ชาวญี่ปุ่นด้วยกันเอง ในการก้มศีรษะเพื่อโค้งคำนับกันนั้น สามารถทำได้ตั้งแต่การก้มศีรษะลงในระดับเพียงเล็กน้อยไปจนกระทั่งถึงการก้มศีรษะลงในระดับ 90 องศา โดยระดับขององศาในการก้มศีรษะลงนั้น จะขึ้นอยู่กับระดับความสุภาพที่ต้องการแสดงออกว่าต้องการแสดงออกมามากน้อยเพียงใด

            ชาวญี่ปุ่นจะมีลักษณะกริยาท่าทางที่บ่งบอกให้เห็นถึง “ความถูกต้อง” และ “ความผิดพลาด” โดยการใช้สัญลักษณ์ที่เป็นเครื่องหมาย “วงกลม” หรือ maru เพื่อแสดงให้เห็นถึงความหมายในเชิงบวก ไม่ว่าจะเป็น “ความถูกต้อง” “การสอบผ่าน” หรือ “การได้รับชัยชนะ” สำหรับเครื่องหมาย “กากบาท” หรือ “เครื่องหมายผิด” ที่เรียกว่า ばつmatsu นั้นจะแสดงให้เห็นถึงความหมายในเชิงลบ เช่น “ความผิดพลาด” “การสอบตก” เป็นต้น

 

การแสดงอารมณ์และความรู้สึก

หัวเราะ

(わら)

Warau

ร้องไห้

()

Naku

เสียใจ

(かな)しい

Kanashii

หวนระลึกถึง

(なつ)かしい

Natsukashii

อิ่มเอมใจ, เคลิบเคลิ้ม

うっとりする

Uttorisuru

ผิดหวัง, ท้อแท้

がっかりすうる

Gakkarisuru

เหงา, เปล่าเปลี่ยว

(さび)しい

Sabishii

อาย, เขิน

()ずかしい

Hazakashii

ใจเต้น, ตื่นเต้น

どきどきする

Dokidokisuru

สนุกสนาน

(たの)しい

Tanoshii

อิจฉา

うらやましい

Urayamashii

หงุดหงิด, รำคาญใจ

いらいらする

Irairasuru

ดีใจ

(うれ)しい

Urashii

น่าสนใจ

面白(おもしろ)

Omoshiroi

ตกใจ

びっくるする

Bikkurisuru

เหนื่อย

(つか)れる

Tsukareru

สดใส, กระปรี้กระเปร่า

元気(げんき)(な)

Genki (na)

โกรธ

()こる

Okoru

 

การแสดงความคิด

คิด, คิดว่า

(おも)

Omou

ตัดสินใจ

()める

Kimeru

เข้าใจ

理解(りかい)する

Rikaisuru

อธิบาย

説明(せつめい)する

Setsumeisuru

ลืม

(わす)れる

Wasureru

นึกออก

(おも)()

Omoidasu

สงสัย

うたがう

Utagau

 

 

คำศัพท์

อัพษรโรมันจิ

ความหมาย

予想(よそう)する

Yosousuru

คาดคะเน

(かん)じる

Kanjiru

รู้สึก

()

Shiru

รู้

期待(きたい)する

Kitaisuru

คาดหวัง

(しん)じる

Shinjiru

เชื่อ

(おぼ)える

Oboeru

จำ

興味(きょうみ)()

Kyoumi o motsu

สนใจ

判断(はんだん)する

Handansuru

ลงความเห็น

誤解(ごかい)する

Gokaisuru

เข้าใจผิด

支持(しじ)する

Shijisuru

สนับสนุน

反対(はんたい)する

Hantaisuru

คัดค้าน

同意(どうい)する

Douisuru

เห็นด้วย

 

ข้อสังเกต

            จะสังเกตเห็นได้ว่าชาวญี่ปุ่นมักจะหลีกเลี่ยงการพูดแสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา โดยการใช้สำนวนแบบอ้อม ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการแสดงความคิดของตนออกมาโดยตรงว่า “คิดว่าเป็นอย่างนี้” แต่จะใช้วิธีการพูดในลักษณะแบบอ้อม ๆ ว่า “คิดว่าคงจะเป็นอย่างนี้” หรือการใช้สำนวนในการถามความคิดเห็นของคาสนทนากลับว่า “คิดว่าเป็นอย่างไร?” การที่ชาวญี่ปุ่นมักพูดแสดงความคิดเห็นโดยการใช้สำนวนแบบอ้อม ๆ ในลักษณะดังกล่าวนี้ ก็เพื่อที่จะเปิดโอกาสให้คู่สนทนาของตนนั้นได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจ ซึ่งจะสังเกตเห็นได้จากการที่ชาวญี่ปุ่นทักจะใช้คำพูดที่แสดงถึงการคล้อยตาม โดยการแสดงลักษณะท่าทางในการ “ตอบรับ” ด้วยวิธีการ “พยักหน้า”

 

การทำกิจวัตรประจำวัน

ตื่นนอน

()きる

Okiru

ล้างหน้า

(かお)(あら)

Kao o aruu

แปรงฟัน

()(みが)

Ha o migaku

กลั้วคอ

うがいをする

Ugai o suru

อาบน้ำ

シャワーを()びる

Shawaa o abiru

ทำอาหาร

料理(りょうり)をする

Ryouwi o suru

กินข้าว

(はん)()べる

Gohan o taberu

ทำงาน

仕事(しごと)をする

Shigoto o suru

กลับบ้าน

(いえ)(かえ)

Ichi ni kaeru

 

การแต่งตัว

หวีผม

(かみ)をとかす

Kami o takasu

โกนหนวด

(ひげ)をする

Hige o suru

แต่งหน้า

化粧(けしょう)をする

Keshou o suru

รีดผ้า

アイロンをかける

Airon o kakeru

เปลี่ยนเสื้อผ้า

着替(きか)える

Kigaeru

ขัดรองเท้า

(くつ)(みが)

Kutsu o migaku

ใส่รองเท้า

(くつ)()

Kutsu o haku

สวมหมวก

帽子(ぼうし)をかぶる

Boushi o kaburu

สวมแว่นตา

めがねをかける

Megane o kakeru

 

การทำความสะอาด

กวาด

掃く

Haku

ปัด

はたく

Hayaku

ซัก, ล้าง

洗う

Arau

ตาก

干す

Hosu

เซ็ด

拭く

Fuku

ขัด, ถู

磨く

Migaku

ถังขยะ

屑入れ

Kuzuire

ไม้กวาด

ほうき

Houki

ที่โกยผง

ちりとり

Chiritori

ผ้าขี้ริ้ว

雑巾

Zoukin

แปรง

たわし

Tawashi

ถัง

バケツ

Baketsu

 

คำศัพท์

อัพษรโรมันจิ

ความหมาย

ホース

Housu

สายยาง

モップ

Moppu

ไม้ถูพื้น

スポンジ

Suponji

ฟองน้ำ

洗濯機(せんたくき)

Sentakuki

เครื่องซักผ้า

洗剤(せんざい)

Senzai

ผงซักฟอก

柔軟剤(じゅうなんざい)

Juunanzai

น้ำยาปรับผ้านุ่ม

 

การทำอาหาร

ต้ม, เคี่ยว

煮る

Niru

ผัด

炒める

Itameru

นิ่ง

蒸す

Musu

ตัด

切る

Kiru

ปิ้ง, ย่าง

焼く

Yaku

ทอด

揚げる

Ageru

คน

かき混ぜる

Kakimazeru

 

 

คำศัพท์

อัพษรโรมันจิ

ความหมาย

(くわ)える

Kuwaeru

เติม, เพิ่ม

()れる

Ireru

ใส่

()ぜる

Mazeru

คลุก

水切(みずき)

Mizukiri

สลัดน้ำ

ゆでる

Yuderu

ลวก

炊く

Taku

หุงข้าว

むく

Muku

ปอกเปลือก

ねかす

Nekasu

หมัก

いぶす

Ibusu

รมควัน

干す

Hosu

ตาก

さばく

Sabaku

แล่

 

การแสดงอาการต่าง ๆ

หูอื้อ

耳鳴(みみな)

Miminari

หมดสติ

()(うしな)

Ki o ushinau

ฟื้นคืนสติ

意識(いしき)海津苦(かいづく)する

Ishiki o kaifukusuru

เหนื่อย

(つか)れる

Tsukareru

หน้าซีด

顔色(かおいろ)(わる)

Kaoiro ga warui

สะอึก

しゃっくり

Shakkuri

คัน

(かゆ)

Kayui

 

 

ติดตามเรื่องนี้
เก็บเข้าคอลเล็กชัน

ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

loading
กำลังโหลด...

อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

loading
กำลังโหลด...

ความคิดเห็น

กำลังโหลด...

ความคิดเห็น

กำลังโหลด...
×
แทรกรูปจากแกลเลอรี่ - Dek-D.com
L o a d i n g . . .
x
เรียงตาม:
ใหม่ล่าสุด
ใหม่ล่าสุด
เก่าที่สุด
ที่กำหนดไว้
*การลบรูปจาก Gallery จะส่งผลให้ภาพที่เคยถูกนำไปใช้ถูกลบไปด้วย

< Back
แทรกรูปโดย URL
กรุณาใส่ URL ที่ขึ้นต้นด้วย
http:// หรือ https://
กำลังโหลด...
ไม่สามารถโหลดรูปภาพนี้ได้
*เมื่อแทรกรูปเป็นการยืนยันว่ารูปที่ใช้เป็นของตัวเอง หรือได้รับอนุญาตจากเจ้าของ และลงเครดิตเจ้าของรูปแล้วเท่านั้น
< Back
สร้างโฟลเดอร์ใหม่
< Back
ครอปรูปภาพ
Picture
px
px
ครอปรูปภาพ
Picture