ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    สงครามโลกและยุโรป(ประวัติศาสตร์)

    ลำดับตอนที่ #2 : ประวัติศาสตร์ยุโรป01 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1815-ปัจจุบัน

    • อัปเดตล่าสุด 15 ก.ค. 51


    สนธิสัญญาสันติภาพหลังสงครามโลกครั้งที่

    1 ประเทศที่เกิดใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 และองค์การสันนิบาตชาติ 11 พฤศจิกายน ค.. 1918 แล้ว ขั้นต่อไปก็คือการทำสนธิสัญญาสันติภาพ ซึ่งมีความยากลำบากมากเพราะผู้ที่ชนะสงครามก็เริ่มที่จะถอนทุนคืนในการที่ต้องทำสงครามถึงสี่ปี การทำสนธิสัญญาสันติภาพจึงเป็นเรื่องใหญ่มากและเกิดผลกระทบให้เกิดสงครามโลกอีกครั้งในที่สุด 4 ได้ร่างสนธิสัญญาแวร์ซายส์อยู่หลายเดือนในวันที่ 7 พฤษภาคม 1919 เคลมองโซได้ยื่นให้แก่ผู้แทนเยอรมนีไม่ใช่สำหรับวิพากษ์วิจารณ์ แต่ให้ไปอ่านเพื่อเซ็นชื่อยอมรับ บรรดาผู้แทนเยอรมนีได้มากันเป็นกลุ่มใหญ่เพื่อหวังว่าจะเห็นสนธิสัญญาสันติภาพตามหลัก 14 ข้อของประธานาธิบดีวิลสัน ผู้แทนของเยอรมนีกลับได้เห็นข้อความที่บรรจุค่าปฏิกรรมสงครามอย่างมากมายเกินกว่าที่ชาวเยอรมนีจะจ่ายได้ทั้งชาตินอกจากค่าปฏิกรรมสงครามแล้ว ยังมีดินแดนของเยอรมนีหลายแห่งที่ต้องสูญเสีย การอวสานของอาณาจักรไรซ์ การสูญเสียเหมืองถ่านหินในแคว้นซาร์ และข้อปลีกย่อยอีกเป็นจำนวนมาก ชาวเยอรมนีทั้งประเทศก็ต่างช็อกกับข้อความในสนธิสัญญาแวร์ซายส์กันถ้วนหน้า ข้อความมีทั้งหมด 443 หน้า สัมพันธมิตรอนุญาตให้ชาวเยอรมันแก้ได้เฉพาะจำนวนตัวเลขในแต่ละหัวข้อว่าอันไหนควรจะเป็น ข้อ 1 ข้อ 2 อะไรทำนองนั้น แต่ห้ามเปลี่ยนรายละเอียดใดๆทั้งสิ้น ในวันที่ 16 มิถุนายม สนธิสัญญาได้ถูกส่งกลับไปให้แก่ผู้แทนเยอรมนีอีกครั้ง ครั้งนี้เป็นครั้งสุดท้ายที่บังคับให้ผู้แทนเยอรมนีต้องยอมรับหรือปฏิเสธ (Friedrich Ebert. 1871 – 1925 เป็นรัฐบุรุษที่มาจากพรรค Social Democratic เป็นประธานาธิบดีของสาธารณรัฐเยอรมันในช่วงปี ค.. 1919 – 1925) เมื่อเห็นข้อความสนธิสัญญาแวร์ซายส์ถึงกับพูดว่า "เป็นผลิตผลการแก้แค้นแบบฮิททีเรียของฝ่ายศัตรู" และเขาได้ตัดสินใจที่จะลาออกจากการเป็นประธานาธิบดี แต่ถูกขอร้องให่ทำการไตร่ตรองไว้ก่อน นายกรัฐมนตรี Scheidemann และบรรดาคณะรัฐมนตรีได้ทำการลาออกเพื่อประท้วงสนธิสัญญาแวร์ซายส์ การที่รัฐบาลเยอรมนีลาออกเท่ากับเป็นการปฏิเสธการยอมรับในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ นายพลฟอชได้รีบเร่งระดมทหารเพื่อที่จะข้ามแม่น้ำไรน์เข้ามา และประกาศว่าถ้าตอนบ่ายของวันที่ 23 มิถุนายน เยอรมนีไม่ยอมเซ็นยอมรับสนธิสัญญานี้ กองทหารฝรั่งเศสจะข้ามแม่น้ำไรน์เข้ามาทำสงครามต่อไป เยอรมนีจำต้องรีบตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีใหม่ ในวันที่ 22 มิถุนายน 1919 นายกรัฐมนตรีคนใหม่ คือ กุสตาฟ โบเออร์ (Gustav Bauer) ได้แถลงต่อสมาชิกรัฐสภาไวมาร์ (Weimar) ถึงเหตุผลที่คณะรัฐมนตรีของเขาต้องจำใจเซ็นสนธิสัญญาแวร์ซายส์โดยยอมรับว่า เขาจำเป็นต้องเซ็นสนธิสัญญาฉบับนี้ เนื่องจากประเทศของเขา (เยอรมนี) ถูกขู่ว่าจะต้องถูกโจมตี เขาขอร้องให้ชาวเยอรมันทั่วประเทศช่วยกันประท้วงอย่างรุนแรงพร้อมกันทั่วประเทศ เขาเยาะหยัน "นโยบายการกำหนดตนเองตามแนวเชื้อชาติของวิลสัน" ดร. เฮอร์แมน มูลเลอร์ (Dr. Herman Muller) รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศได้กล่าวเพิ่มเติม "เราจะต้องเดินทางเข้าไปในทะเลทราย 40 ปี เพราะสนธิสัญญาทำความขมขื่นให้แก่เราอย่างแสนสาหัส" สมาชิกรัฐสภาต้องยอมรับการที่รัฐบาลต้องถูกบังคับให้เซ้นสัญญาแวร์ซายส์ 227 ต่อ 138 เสียง 28 มิถุนายน ค.. 1919 ห้องกระจก (Hall of Mirrors) ของพระราชวังแวร์ซายส์ เวลาประมาณ 15.00 . เมื่อลงนามเสร็จ คณะผู้แทนเยอรมนีก็เดินทางออกจากห้องทันที สนธิสัญญานี้มีผลบังคับใช้ในวันที่ 10 มกราคม 1920 ภาษาที่ใช้ ใช้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสทั้งในการร่างและต้นฉบับที่สมบูรณ์ 1 ประเทศเชโกสโลวะเกีย ประกอบด้วยแคว้นโมราเวีย โบฮีเมีย ซูเดเตน และดินแดนอันเป็นที่อยู่ของชาวสโลวะเกีย

    2.

    องค์การสันนิบาตชาติ

    ประเทศตามชายฝั่งทะเลบอลติก ได้แก่ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย แลตเวีย และลิธัวเนีย ประเทศเหล่านี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของรุสเซียมาก่อน ต่างก็มีความเป็นมาและวัฒนธรรมของตนเอง (The League of Nations)

    ความร้ายแรงและความเสียหายจากสงครามโลกครั้งที่

    1 เป็นแรงผลักดันให้มวลมนุษย์และประเทศต่างๆ แสวงหาวิธีการที่จะดำรงรักษาสันติภาพอันถาวรไว้ จึงได้มีการเคลื่อนไหวเพื่อก่อตั้งองค์การสันนิบาตขึ้น ประธานาธิบดีวิลสันเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในเรื่องนี้ เพราะเป็นผู้ยืนกรานที่จะก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติเป็นข้อตกลงสำคัญประการหนึ่งของสนธิสัญญาสันติภาพ ทุกประเทศซึ่งเป็นฝ่ายชนะสงครามและร่วมลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพจะเป็นสมาชิกขององค์การนี้โดยอัตโนมัติสำหรับประเทศที่แพ้สงครามนั้น จะเข้าเป็นสมาชิกได้ก็ต่อเมื่อได้ปฏิบัติตามสนธิสัญญาสันติภาพเรียบร้อยแล้ว สวนประเทศอื่นนั้นจะเข้าเป็นสมาชิกได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากสองในสามของสมาชิก

    เมื่อมีการตกลงหยุดยิงในวันที่

    สนธิสัญญาแวร์ซายส์

    บรรดาผู้มีอำนาจทั้ง

    บรรดาผู้นำเยอรมนีระดับสูงๆต่างปฏิสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ประธานาธิบดีเฟรเดอริก อีเบิร์ต

    รัฐบาลเยอรมนีได้ยอมเซ็นสัญญาแวร์ซายส์ในวันที่

    ประเทศที่ตั้งขึ้นใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่

    1.

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×