ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    Sakura Hana House ภาษาญี่ปุ่น น่ารู้ ง่าย ๆ

    ลำดับตอนที่ #317 : [Off.] 結納 (การแลกเปลี่ยนของขวัญงานหมั้นตามพิธี)

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 267
      0
      25 มิ.ย. 66

    TB

    結納(ゆいのう)

    ゆいのう婚約(こんやく)の証しとして(おこな)われる日本古来(にほんこらい)儀式(ぎしき) 結納(ゆいのう) といいます。 もともとは、「(いえ) (いえ) 結合(けつごう)(かた)めるために、双方(そうほう)親族(しんぞく)(いん) (しょく)(とも)にし、 (おく)(もの)をすることを意味(いみ)していました。 今日(きょう)では、() (いき)によって多少形式(たしょうけいしき)(こと)なりますが、おめでたい品々(しなじな)(とも)に、結納(ゆいのう) (きん)として現金(げんきん)(おく)るのが一般的(いっぱんてき)です。

    見合(みあ)いによらない婚約(こんやく)場合(ばあい)にも、 結納(ゆいのう)をとり()わしてから結婚(けっこん) (むか)えるカップルが(すく)なくありません。 双方(そうほう)結納(ゆいのう)をとり()わすこと によって、世間的(せけんてき)にも正式(せいしき)婚約者(こんやくしゃ)として(みと)められることになるからです。

     

    ACTIVITY

    結納(ゆいのう)(すす)(かた)

    1.      結納(ゆいのう)(むか)える準備(じゅんび)として、男性側(だんせいがわ)は、「結納品(ゆいのうひん) 家族書(かぞくが)き」「親族書(しんぞくしょ) 白木(しらき)(だい)()せ、袱紗(ふくさ)(おお)います。

    2.      当日(とうじつ),男性側(だんせいがわ)女性側(じょせいがわ)両家(りょうけ)とも、(いえ)(なか)(きよ)め、(とこ)()*には (はな)()け、「(おきな)(しょう)」「(つる)(かめ)() ()()」など慶事(けいじ)象徴(しょうちょう)するものを()いた掛軸(かけじく)*をかけて、仲人夫妻(なこうどふさい)来訪(らいほう)()ちます。

    3.      仲人(なこうど)はまず、男性宅(だんせいたく)(おとず)れます。 男性側(だんせいがわ)は、仲人(なこうど)(いえ)結納(ゆいのう)()にふさわしい挨拶(あいさつ)()わします。 つづいて、結納品(ゆいのうひん) (いえ) 族書(やからが)きなどを仲人(なこうど)(たく)します。 この(かん)会話(かいわ)儀式的(ぎしきてき)内容(ないよう)の、いわば固苦(こくる)しいもので、()ちとけた世間話(せけんばなし)はしないのがふつうで す。

    4.      結納(ゆいのう)()(わた)しを()ませた男性側(だんせいがわ)は、 慶事(けいじ)にはつきものの「桜湯(さくらゆ)」か「昆布茶(こぶちゃ)() 仲人(なこうど)接待(せったい)します。

    5.      仲人(なこうど)男性宅(だんせいたく)退出(たいしゅつ)し、こんどは女性宅(じょせいたく)(おとず)れます。 女性宅(じょせいたく)では(なか) (ひと)(いえ)(しょう)()れ、 結納(ゆいのう)にふさわしい挨拶(あいさつ)()わしたのち、仲人(なこうど) から結納品(ゆいのうひん)()()り、「()(しょ)」を仲人(なこうど)(たく)します。

    6.      女性側(じょせいがわ)は「(いわ)(ぜん)」を()して仲人(なこうど)接待(せったい)します。 最近(さいきん)では、「(いわ) (ぜん)」で仲人(なこうど)接待(せったい)する()わりに、 後日、仲人(なこうど)謝礼(しゃれい)として現金(げんきん)などを仲人宅(なこうどたく)(とど)けることが(おお)くなっています。)

    7.      仲人(なこうど)は、女性宅(じょせいたく)退出(たいしゅつ)し、ふたたび男性宅(だんせいたく)(おとず)れ、女性側(じょせいがわ)の「()(しょ)」を手渡(てわた)します。

     

    Q&A

    1.

    Q ::

    結納(ゆいのう)はどんな()(おこな)われますか。

    A ::

    日本(にほん)(こよみ)*で吉日(きちじつ)とされる「大安(たいあん)」の()などの午前中(ごぜんちゅう)(おこな)われます。

    2.

    Q ::

    結納品(ゆいのうひん)とは(なん)ですか。

    A ::

    (むかし)は、帯地(おびじ)袴地(はかまち)などの品物(しなもの)(おく)られましたが、その()帯地料(おびじりょう) として品物(しなもの)()わりに現金(げんきん)(おく)られるようになり、現在(げんざい)では、その現金(げんきん)に「結納品(ゆいのうひん)」とよばれるおめでたい品々(しなじな)()わせて(おく)ります。

    3.

    Q ::

    結納品(ゆいのうひん)にはどんなものがありますか。

    A ::

    正式(せいしき)には「目録(もくろく)」「金包(きむほう)」「末広(すえひろ)」「長熨斗(ちょうのし)」「友志良賀(ゆうこころざしりょうが)」(麻糸(あさいと))するめ かつおぶし やなぎだる「子生婦(こせいふ)」「寿留女(ひさしどめおんな)」「勝男節(かつおぶし)」「家内喜多留(かないきたりゅう) (さけ))の九品目(きゅうひんもく)ですが、最近(さいきん)ではそのうちの五品(いひん)から七品(ななしな)に、婚約指輪(こんやくゆびわ)()える場合(ばあい)() いようです。それぞれ別個(べっこ)用意(ようい)しなくても、百貨店(ひゃっかてん)結婚式場(けっこんしきじょう) セット(せっと)にして()っています。

    4.

    Q ::

    婚約(こんやく)した(とき)は、(かなら)結納(ゆいのう)儀式(ぎしき)をしますか。

    A ::

    (かなら)ずしも正式(せいしき)結納(ゆいのう)をするとは(かぎ)らず、最近(さいきん)では男性側(だんせいがわ)女性側(じょせいがわ) 双方(そうほう)本人(ほんにん)両親(りょうしん)が、ホテルや仲人(なこうど)(いえ)結納品(ゆいのうひん)交換(こうかん)して会食(かいしょく) したり、また友人(ゆうじん)たちを(まね)いて婚約祝(こんやくいわ)いのパーティを(ひら)くことも あります。


    ยุฮิโน (การแลกเปลี่ยนของขวัญงานหมั้นตามพิธี)

    ยุอิโน (YUINO) เป็นพิธีดั้งเดิมของญี่ปุ่น ซึ่งจัดขึ้นเป็นหลักฐานของการหมั้น หมายกัน แต่เดิมนั้นเป็นลักษณะที่ทั้งสองครอบครัวของคู่หมั้นชายและหญิงจะร่วม รับประทานและดื่มด้วยกัน มอบของขวัญแก่กันเพื่อกระชับความสัมพันธ์ของสอง ครอบครัว ในปัจจุบันนี้แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันบ้างทางด้านรูปแบบของงาน แต่ โดยทั่วไปจะนิยมมอบเงินสดเป็นสินสอดพร้อมด้วยสิ่งของที่เป็นสัญลักษณ์แห่งความสุข

    มีคู่ชายหญิงจำนวนไม่น้อยที่แม้หมั้นหมายกันโดยไม่ได้เกิดจากแม่สื่อแม่ชัก (มิไอ) ก็ยังแลกเปลี่ยนยุอิโนก่อนจะเข้าสู่พิธีแต่งงาน เนื่องจากเป็นที่ยอมรับกันในสังคมว่า การแลกเปลี่ยนยุอิโนเป็นลักษณะของการหมั้นหมายหรือการเป็นคู่หมั้นกันอย่างเป็นทางการ

     

    กิจกรรม

    <<ลำดับขั้นตอนของยุอิโน>>

    1.      ครอบครัวของฝ่ายคู่หมั้นชายจัดเตรียมยุอิโน-ฮิง (yuino-hin - ของขวัญสำหรับการ หมั้น) รวมทั้งเอกสารทางการเกี่ยวกับครอบครัวและญาติโดยวางบนถาดไม้ที่ไม่ทาสี คลุมด้วยฟุคุสะ (fukusa ผ้าไหมห่อของ) โดยมีสัญลักษณ์ประจำตระกูลพิมพ์ไว้ = ข้างบน

    2.   ในวันนั้นครอบครัวของฝ่ายคู่หมั้นชายและหญิงทำความสะอาดบ้านอย่างสะอาด หมดจดแล้วประดับโทะโคะโนะมะ (มุมประดับในห้องรับแขก) ด้วยดอกไม้และ ประดับภาพแขวนซึ่งเป็นภาพเขียนที่เป็นสัญลักษณ์แห่งความสุข เช่น ภาพของโอะคินะกับโอะอฺบะ (คู่สามีภรรยาเก่าแก่) ภาพนกกระเรียนกับเต่า ภาพอาทิตย์อุทัย ฯลฯ ไว้บนผนังโทะโคะมะ จากนั้นจะคอยการมาเยือนอย่างเป็นทางการของคู่นะโคโดะ

    3.   คู่นะโคโดะจะไปเยือนบ้านของชายคู่หมั้นเป็นอันดับแรก ครอบครัวของชายคู่หมั้นจะ นำเข้าไปในห้องสำหรับทำพิธียุอิโนแล้วกล่าวแสดงการทักทายกันตามสมควร จากนั้น ก็จะมอบยุอิโน-ฮิง เอกสารทางการเกี่ยวกับครอบครัว ฯลฯ ไว้กับนะโคโดะ การ สนทนาระหว่างกันจะมีลักษณะเป็นพิธีรีตอง เนื้อหาที่คุยกันเป็นทางการและถือเป็น ประเพณีที่จะไม่พูดคุยในเรื่องปกติธรรมดาระหว่างการทําพิธี

    4.      หลังพิธีการรับและมอบยุอิโน ครอบครัวของชายคู่หมั้นจะรับรองนะโคโดะด้วย ซากุระยุ (sakura-yu = ชาดอกซากุระแช่เกลือ) หรือโคะบุ-ฉะ (kobu-cha ทำจากสาหร่ายทะเล “โคะ” โรยเกลือ) โคะบุ หมายความถึง โยะโระโคะ (yorokobu) คือ ความปิติยินดี) ทั้งสองสิ่งนี้เป็นชาที่ใช้ในงานมงคล

    5.   จากนั้นนะโคโตะจะออกจากบ้านของชายคู่หมั้นแล้วไปเยือนบ้านของหญิงคู่หมั้น ครอบครัวของหญิงคู่หมั้นจะนำเข้าไปในห้อง กล่าวทักทายกันตามสมควร จากนั้นจะ รับยุอิโน-ฮิง จากนะโคโดะ และมอบเอกสารยืนยันการได้รับยุอิโน-ฮิงอย่างเป็นทาง การให้กับนะโคโดะ

    6.      ครอบครัวของหญิงคู่หมั้นจะเลี้ยงรับรองนะโคโดะด้วยอิวะอิ-เซ็ง (iwai-zen อาหารสำหรับการเลี้ยงฉลอง) ในระยะหลังมานี้ ครอบครัวของหญิงคู่หมั้นนิยมไป เยี่ยมที่บ้านของนะโคโดะ และมอบเงินสด ฯลฯ เป็นสิ่งตอบแทนแสดงความขอบคุณ ในวันหลังจากเสร็จพิธีไประยะหนึ่งแทนการเลี้ยงแทนการเลี้ยงอาหาร

    7.      นะโคโดะจะออกจากบ้านของหญิงคู่หมั้นแล้วไปเยี่ยมบ้านของชายคู่หมั้นอีกครั้ง และ มอบเอกสารยืนยันการได้รับยุอิโน-ฮิงจากฝ่ายหญิงให้

     

    คำถาม – คำตอบ

    1.

    คำถาม :

    พิธียุอิโนจะจัดขึ้นในวันใด

    คำตอบ :

    นิยมจัดในช่วงเช้าของวันทอง (tarian) ตามปฏิทินแบบเดิมของญี่ปุ่น ซึ่งถือเป็นวันแห่งโชคลาภ

    2.

    คำถาม :

    ยุอิโน-ฮิงคืออะไร

    คำตอบ :

    ในสมัยก่อนชายคู่หมั้นจะมอบสิ่งของ เช่น ผ้าสำหรับทำโอะบิหรือฮะคะมะ (hakama กระโปรงกางเกงแบบญี่ปุ่นยาวคลุมข้อเท้า) และต่อมาภาย หลังเปลี่ยนเป็นมอบเงินสดเป็นค่าโอะบิหรือฮะคะมะแทนการให้เป็นสิ่งของ ในระยะหลังนี้มักจะมอบเงินสดพร้อมกับสิ่งของที่เป็นมงคล ที่เรียกว่า ยุอิโน-ฮิง

    3.

    คำถาม :

    ยุอิโน ซึ่งประกอบด้วยอะไรบ้าง

    คำตอบ :

    สิ่งของที่เป็นทางการมีอยู่ 2 อย่าง ได้แก่ (1) รายการสิ่งของ (2) เงิน (3) พัดคลี่ (4) โนะชิ (หอยตากแห้งทำเป็นแถบบาง ๆ ยาว ๆ) (5) ด้ายป่าน (6) คมบุ (kombu = สาหร่ายทะเลชนิดหนึ่งเป็นแถบยาวสีน้ำตาลตากแห้ง) (7) สุรุเมะ (surume = ปลาหมึกแห้ง) (8) คะทสึโอะบุชิ (katsuobushi ปลาโอตากแห้ง) และ (9) เหล้าสาเก ในระยะหลัง ๆ นี้ นิยมเลือกสิ่งของ 5 หรือ 7 ชนิดจากสิ่งของเหล่านี้แล้วเพิ่มแหวนหมั้นเข้าไปด้วย สิ่งของ เหล่านี้จะจัดวางขายเป็นชุดตามห้างสรรพสินค้า โรงแรมหรือสถานจัดพิธี แต่งงาน ฯลฯ เราไม่จำเป็นต้องจัดเตรียมหาเองทีละชิ้น

    4.

    คำถาม :

    จะจัดงานยุอิโนเมื่อมีการหมั้นกันเสมอไปหรือไม่

    คำตอบ :

    ไม่เสมอไป ในปัจจุบันแทนที่จะจัดพิธีอย่างเป็นทางการ พ่อแม่และคู่หมั้น ทั้งฝ่ายชายและหญิงอาจมาพบกันที่โรงแรมหรือที่บ้านของนะโคโดะ เพื่อ แลกเปลี่ยนของขวัญในการหมั้นและรับประทานอาหารร่วมกัน คู่หมั้นบาง คู่จะจัดงานเลี้ยงฉลองการหมั้นโดยเชิญเพื่อนฝูงคนรู้จักมักคุ้นมาร่วมงาน

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×