ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    Sakura Hana House ภาษาญี่ปุ่น น่ารู้ ง่าย ๆ

    ลำดับตอนที่ #276 : [Off.] Chouju no iwai งานฉลองความมีอายุยืน

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 296
      0
      15 พ.ค. 65

    TB

    長寿(ちょうじゅ)(いわ)

    ことは 日本(にほん)では最近(さいきん)平均寿命(へいきんじゅみょう)」も()びて、(いま)や「人生(じんせい)80年時代(ねんじだい)」といわ れ、世界一(せかいいち)長寿国(ちょうじゅこく)となりました。日本(にほん)には、家族(かぞく)(した)しい友人(ゆうじん)などが(あつ)まって、長命(ちょうめい)寿(ことほ)伝統的(でんとうてき)なお(いわ)行事(ぎょうじ)があります。国民(こくみん) 祝日(しゅくじつ)(ひと)つとして、「敬老(けいろう)()」(9(がつ)15(にち) が1966(ねん)制定(せいてい)され、以来(いらい)公的(こうてき)にも長寿(ちょうじゅ)をお(いわ)いする行事(ぎょうじ)(もよお)されるようになりました。 健康(けんこう)長寿(ちょうじゅ)(ねが)い、(おお)くの家庭(かてい)体力作(たいりょくづく)りや食生活(しょくせいかつ)()きがいのあ 老後(ろうご)()らしへの関心(かんしん)が、近年(きんねん)とみに(たか)まっています。

     

    ACTIVITY

    長寿(ちょうじゅ)(いわ)(かた)

    (つぎ)のような人生(じんせい)節目(ふしめ)をとらえて、誕生日(たんじょうび)やその(ちか)くの休日(きゅうじつ)ある いはその(とし)敬老(けいろう)()(9(がつ)15(にち))に、家族(かぞく)親類(しんるい)友人(ゆうじん)など(した)しい(ひと) たちが自宅(じたく)やレストランなどで祝宴(しゅくえん)(ひら)き、会食(かいしょく)をしたり、(おく)(もの) をしたりして、 長寿(ちょうじゅ)健康(けんこう)(いわ)います。

    (1) 還暦 (60歳の祝い)

     

    (むかし)(こよみ)による干支(えと)*が60(ねん)一巡(いちじゅん)して、61年目(ねんめ)にはまた()まれた(とし)干支(えと)(かえ)ることから、「還暦(かんれき)」と()づけられました。(本書(ほんしょ) p().118(118) (さん) (かつ) (しょう))

     

    (2) 古希 (70歳の祝い)

    (とう)詩人(しじん)杜甫(とほ)詩句(しく)人生七十年古来稀也(じんせいななじゅうねんこらいきなり)」にちなんで、「古稀(こき)」と ()づけられました。

     

    (3) 喜寿(きじゅ) (77(さい)(いわ)い)

    ()」という漢字(かんじ)草書体(そうしょたい)で「(ひょう)」となり、それは「七十七(ななじゅうなな)」と(どく) れることから、77(さい)(いわ)いは「喜寿(きじゅ)」と()ばれます。 

     

    (4) 傘寿(さんじゅ) (80(さい)(いわ)い)

    (かさ)」という漢字(かんじ)草書体(そうしょたい)で「(いま)」となり、「八十(はちじゅう)」と()まれるので、このように()ばれます。

     

    (5) 米寿(べいじゅ) (88(さい)(いわ)い)

    (べい)」という漢字(かんじ)分解(ぶんかい)すると、「八十八(はちじゅうはち)」になることから、88(さい)(しゅく) いは「米寿(べいじゅ)」呼ばれます。

     

    (6()) 卒寿(そつじゅ) (90(さい)(いわ)い)

     

    (そつ)」という漢字(かんじ)(りゃく)して()くと、「九十(きゅうじゅう)」となり、「九十(きゅうじゅう)」と()まれることから、90(さい)(いわ)いは「卒寿(そつじゅ)」と()ばれます。

     

    (7)  白寿(はくじゅ) (99(さい)(いわ)い)

     漢字(かんじ)の「(ひゃく)」から(いち)をとると「(しろ)」となるところから、(ひゃく)より(ひと)つ少な い99(さい)(いわ)いは「白寿(はくじゅ)」と()われます。

     

    Q&A

    1.

    Q ::

    長寿(ちょうじゅ)(いわ)いは、どのようにして(はじ)まりましたか。

    A ::

    元来(がんらい)中国(ちゅうごく)風習(ふうしゅう)由来(ゆらい)し、平安時代(へいあんじだい) (794-1190)貴族(きぞく)(あいだ)(ぎょう) われるようになりました。当時(とうじ)40(40)(さい)の「四十(よんじゅう)()」が最初(さいしょ)(ちょう) 寿(ひさし)(いわ)いで、その()10(10)(ねん)ごとに(いわ)いました。

    2.

    Q ::

    現在行(げんざいおこな)われているような長寿(ちょうじゅ)(いわ)いは、いつごろから(はじ)まりまし たか。

    A ::

    室町時代(むろまちじだい)(1338-1570) ()わりごろからですが、それらの(いわ)いは(おとこ) (せい)(かぎ)られていました。

    3.

    Q ::

    長寿(ちょうじゅ)(いわ)いの(おく)(もの)には、(なん)か「しきたり」がありますか。

    A ::

    還暦祝(かんれきいわ)い」には、還暦(かんれき)になると「(ふたた)(あか)坊時代(ぼうじだい)(かえ)る」との(かい) (しゃく)から(あか)頭巾(ずきん)(あか)いちゃんちゃんこ、(あか)()ぶとんなどを(おく)風習(ふうしゅう)がありますが、その()(いわ)いの(おく)(もの)は、自由(じゆう)(この)ましい、 ものを(えら)びます。

    งานฉลองความมีอายุยืน

    ช่วงอายุขัยโดยเฉลี่ยของคนญี่ปุ่นได้เพิ่มสูงขึ้นมากในระยะไม่กี่ปีมานี้ กล่าวกัน ว่าในปัจจุบันช่วงอายุขัยของคนญี่ปุ่นตกประมาณ 80 ปี และได้รับการจัดไว้เป็น อันดับหนึ่งของการมีช่วงอายุขัยยืนยาวที่สุดในโลก ในญี่ปุ่นจะมีประเพณีการฉลอง วันเกิดสำหรับผู้สูงวัยซึ่งครอบครัวหรือเพื่อนฝูงจะมาชุมนุมกันจัดให้ เพื่อฉลอง ความมีอายุมั่นขวัญยืน วันแสดงความเคารพผู้สูงวัย (15 กันยายน) สถาปนาขึ้นใน ปี ค.ศ. 1966 ให้เป็นวันหยุดราชการ นับแต่นั้นมาก็มีการจัดงานฉลองความมีอายุ ยืนกันทั่วไป ความปรารถนาที่จะมีสุขภาพดีรวมทั้งอายุยืนทำให้คนจำนวนมากให้ ความสนใจอย่างจริงจังต่อการเสริมสร้างร่ายกายให้แข็งแรงและพัฒนานิสัยการกิน อาหารที่คำนึงถึงสุขภาพ อีกทั้งการแสวงหาความสุขและความสำเร็จในชีวิตภาย หลังการเกษียณด้วย

     

    กิจกรรม

    <<การฉลองความมีอายุยืน>>

    เหล่าคนสนิทชิดเชื้อ เช่น ครอบครัว ญาติหรือเพื่อน ๆ ของผู้สูงวัยจะจัดงานเลี้ยง ตามบ้านหรือภัตตาคารเพื่อฉลองช่วงอายุพิเศษให้ในวันเกิดหรือวันหยุดที่ใกล้เคียงกับวัน เกิดหรือในวันแสดงความเคารพผู้สูงวัย (15 กันยายน) โดยเป็นการฉลองความมีอายุยืน และสุขภาพดี ร่วมรับประทานอาหารและมอบของขวัญให้ การฉลองช่วงอายุต่าง ๆ ดังนี้ :

     

    (1) คังเระชิ (Kanreki = การฉลองครบรอบวันเกิด 60 ปี)

    การฉลองวันครบรอบวันเกิด 60 ปีเรียกว่า คังเระซิ (คัง หมายถึง กลับคืน และ เระซิ หมายถึง ปฏิทิน) ปฏิทินเอโตะ* ดั้งเดิมมี 60 ปีใน 1 รอบ เมื่อครบรอบ (อายุขึ้นปีที่ 61) ก็กลับไปเริ่มต้นใหม่ เราฉลองวันเกิดครบรอบ 60 ในปีราศีเดียวกับปีที่เราเกิดจริง คังเระขิเป็นการเริ่มต้นของชีวิตครั้งที่ 2 (วัฏจักรเอโตะ)  

     

    (2) โคะคิ (Koki = การฉลองครบรอบวันเกิด 70 ปี)

    การฉลองนี้เรียกว่า โคะคิ (โคะ หมายถึงเก่าแก่ และ คิ หมายถึงหายาก ไม่ค่อยมี) ตั้งชื่อตามวลีในโคลงที่แต่งโดยตู้ (กวีจีนในสมัยราชวงศ์ถังช่วงศตวรรษที่ 8) ดังนี้ “ชีวิตนั้นสั้นนัก แต่โบราณมา ชีวิตคนยากจะยืนยาวถึง 70 ปี”

     

    (3) คิจ (Kiu = การฉลองครบรอบวันเกิด 7 ปี)

    (คิ หมายถึง ปิติยินดี ส่วนจุ หมายถึง การฉลอง) ตามลายมือเขียนแบบหวัดของอักษรจีน คิ เขียนว่า (さしまね) ซึ่งอ่านได้เป็น 七十七(ななじゅうなな) (77) จึงเรียกการฉลองครบรอบวันเกิด 77 ปีว่า คิจุ (การฉลองอย่างปิติยินดี)

     

    (4) ซันจู (Sanju การฉลองครบรอบวันเกิด 80 ปี)

    ซัน หมายถึง ร่ม) ตามลายมือเขียนแบบหวัดของอักษรจีน ซัน เขียนได้เป็น ซึ่ง อ่านได้เป็น 八十(はちじゅう) (80) จึงเรียกการฉลองครบรอบวันเกิด 80ปีว่า ซันจุ (งานฉลองร่ม)

     

    (5) เบจ (Beiju = การฉลองครบรอบวันเกิด 88 ปี)

    (เบ หมายถึง ข้าว) รูปร่างของอักษรจีนของคำว่าเบ ((べい)) นี้สามารถแยกได้เป็น (はち) (8) (じゅっ)(10) และ(はち)(8) * จึงอ่านได้เป็น 八十八(はちじゅうはち)  (88) จึงเรียกการฉลองครบรอบวันเกิด 88 ปีว่า เบจุ (งานฉลองข้าว)

     

    (6) โซะทสึจุ (Sotsuju = การฉลองครบรอบวันเกิด 90 ปี)

    (โซะทสึ หมายถึง เสร็จสิ้น จบ) ในรูปอักษรจีนแบบง่ายนั้น โซะทสึ เขียนว่า (そつ) ซึ่ง อ่านได้เป็น 九十(きゅうじゅう)(90) จึงเรียกการฉลองครบรอบวันเกิด 90ปีว่า โซะทสึจ (การฉลองความสำเร็จ)

     

    (7) ฮะคุจุ (Hakuju = การฉลองครบรอบวันเกิด 99 ปี)

    (ฮะคุ หมายถึง สีขาว) อักษรจีน(ひゃく) หมายถึง 100 ถ้าหากเอาเส้น (いち)(1) ของ (ひゃく) (100) ออกจะเป็นตัวอักษร(しろ) (สีขาว) จึงเรียกการฉลองอายุครบ 99 ปี ซึ่งน้อยกว่า 100 อยู่

     

    คำถาม - คำตอบ

    1.

    คำถาม :

    กำเนิดของการฉลองความมีอายุยืนมาจากไหน

    คำตอบ :

    การฉลองเหล่านี้มีต้นกำเนิดมาจากประเพณีในจีนแล้วนำเข้ามายึดถือ ปฏิบัติกันในญี่ปุ่นในหมู่ขุนนางในสมัยเฮอัน (ค.ศ. 794 - 1192) ใน สมัยนั้น มีการฉลองความมีอายุยืนครั้งแรกเมื่ออายุครบ 40 ปีแล้วตาม ด้วยการฉลองทุก 10 ปี

    2.

    คำถาม :

    รูปแบบการฉลองดังในปัจจุบันเริ่มมาตั้งแต่เมื่อใด

    คำตอบ :

    กล่าวกันว่าเริ่มต้นราว ๆ ตอนปลายสมัยมุโระมะฉิ (ค.ศ. 1338-1570) แต่การฉลองในสมัยก่อนจัดขึ้นสำหรับผู้ชายเท่านั้น

    3.

    คำถาม :

    มีธรรมเนียมเกี่ยวกับของขวัญที่มอบในงานฉลองความมีอายุยืนบ้างไหม

    คำตอบ :

    ตามประเพณีนั้นเราจะมอบสิ่งของที่เป็นสีแดง เช่น ผ้าคลุมศีรษะสีแดง เสื้อไม่มีแขน หรือเบาะนั่งแบบญี่ปุ่นสีแดงสำหรับการฉลองคังเระ เนื่องจากกล่าวกันว่าเมื่อคนเรามีอายุถึงคังเระขิก็เหมือนกลับมาสู่จุดเริ่ม ต้นชีวิต อะคะ-จัง(aka-chan = เด็ก) ใหม่อีกครั้งหนึ่ง (อะคะ หมายถึง สีแดง) ส่วนของขวัญฉลองครบรอบอายุช่วงอื่น ๆ ให้เลือกของขวัญ มอบให้ตามใจชอบ

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×