ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    M4FOR/SUM1 - 2565 - Chem

    ลำดับตอนที่ #5 : ทอมสัน

    • อัปเดตล่าสุด 21 มิ.ย. 65


    thomson ทดลองการเบี่ยนเบนของรังสีแคโทดจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก โดยรังสีเบนเข้าหาขั่ว +

    • สรุปได้ว่า → รังสีแคโทดมีอนุภาคประจุลบ คำนวนค่าประจุต่อมวล (e/m) ของรังสีแคโทดได้

    thomson เปลี่ยนชนิดของแก๊สและโลหะก็คำนวน e/m ได้ประมาณเท่ากันคือ 1.76 x 10^8 คูลอมบ์ต่อกรัม (C/g)

    • สรุปได้ว่า → อนุภาครังสีแคโทดจากอะตอมต่างชนิดเป็นอนุภาคชนิดเดียวกัน - ต่อมาเรียกว่าอิเล็กตรอน

    Robert Andrews Millikan หาค่าประจุของอิเล็กตรอนโดยสังเกตุหยดน้ำมันในสนามไฟฟ้า

    Eugen Goldstein ทำเช่นเดียวกับ thomson แต่กับ Positive ray แทนรังสีแคโทดแล้วคำนวน e/m

    • พบว่า → ค่า e/m ไม่คงที่เมื่อเปลี่ยนชนิดแก๊ส ต่างจากรังสีแคโทด
    • ทำการศึกษากับ Hydrogen gas
    • มีมวล 1.673 x 10^-24 มากกว่า electron ประมาณ 1840 เท่า เรียกว่า Proton (อนุภาพบวกหรือไอออนบวกจาก Hydrogen gas)

    Conclusion → ทอมสัน propose

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×