ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    Mind Map ศัพท์ญี่ปุ่น

    ลำดับตอนที่ #19 : อาชีพและตำแหน่งหน้าที่การงาน

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 18
      0
      25 มิ.ย. 66

    TB

    อาชีพและตำแหน่งหน้าที่การงาน

                ในบทนี้จะพูดถึงอาชีพและตำแหน่งหน้าที่การงานต่าง ๆ โดบแบ่งคำศัพท์ที่เกี่ยวกับอาชีพนั้น ๆ ออกเป็นหมวดหมู่เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ

     

    ธุรกิจการค้า

    นักธุรกิจ

    ビジネスマン

    Bijinesuman

    พ่อค้าแม่ค้า

    商人(しょうにん)

    Shounin

    ร้านขายของ

    売店(ばいてん)

    Baiten

    ห้างสรรพสินค้า

    デパート

    Depaato

    กระเป๋า

    かばん

    Kaban

    เครื่องประดับ

    アクセサリー

    Akusesarii

    รองเท้า

    (くつ)

    Kutsu

    ร้านอาหาร

    レストラン

    Resutoran

    โรงแรม

    ホテル

    Hoteru

    ร้านขายยา

    薬局(やっきょく)

    Yakkyoku

    ร้านเสริมสวย

    美容院(びよういん)

    Biyouin

    ส่วนลด

    割引(わりびき)

    Waribiki

    พนักงานขาย

    店員(てんいん)

    Tenin

    ประชาสัมพันธ์

    受付(うけつけ)

    Uketsuke

    เครื่องใช้ไฟฟ้า

    電気製品(でんきせいひん)

    Denkiseihin

    เครื่องเขียน

    文房具(ぶんぼうぐ)

    Bunbougu

    นาฬิกา

    時計(とけい)

    Tokei

    แว่นตา

    めがね

    Megane

     

    เกษตรกรรม

    เกษตรกร

    棒民(ぼうみん)

    Noumin

    ครอบครัวเกษตรกร

    農家(のうか)

    Nouka

    ปุ๋ย

    肥料(ひりょう)

    Hityou

    สวนผัก

    菜園(さいえん)

    Saien

    พื้นที่เพาะปลูก

    農地(のうち)

    Nouchi

    คนรีดนมวัว

    酪農家(らくのうか)

    Rakunouka

    พืชผลทางการเกษตร

    作物(さくもつ)

    Sakumotsu

    ทุ่งนา

    (はた)

    Hatake

    รั้ว

    垣根(かきね)

    Kakine

    รั้วต้นไม้

    ()(がき)

    Ikegaki

    รถแทรกเตอร์

    トラクター

    Torakutaa

     

     

    คำศัพท์

    อักษรโรมันจิ

    ความหมาย

    納屋(なや)

    Naya

    โรงนา

    家畜(かちく)

    Kachiku

    ปศุสัตว์

    酪農場(らくのうじょう)

    Rakunoujou

    ฟาร์มโคนม

    除草剤(じょそうざい)

    Josouzai

    ยาฆ่าหญ้า

     

    อุตสาหกรรม

    วิศวกร

    エンジニア

    Enjinia

    โรงงาน

    工場(こうじょう)

    Koujou

    ผู้ใช้แรงงาน, กรรมกร

    労働者(ろうどうしゃ)

    Roudousha

    เครื่องจักร

    機械(きかい)

    Kikai

    งานก่อสร้าง

    工事(こうじ)

    Kouji

    อิฐ

    煉瓦(れんが)

    Renga

    ท่อนไม้

    材木(ざいもく)

    Zaimoku

    ปูนซีเมนต์

    セメント

    Semento

    คอนกรีต

    コンクリート

    Konkuriito

     

    คำศัพท์

    อักษรโรมันจิ

    ความหมาย

    コンクリートウォール

    Konkuriito wooru

    กำแพงคอนกรีต

    コンクリートミキサー

    Konkuriito mikisaa

    เครื่องผสมคอรกรีต

    コンクリートブロック

    Konkuriito burokku

    บล็อกคอนกรีต

    政管工場(せいかんこうじょう)

    Seikankoujou

    โรงงานผลิตกระป๋อง

    製鉄工場(せいてつこうじょう)

    Seitetsukoujou

    โรงงานผลิตเหล็ก

    自動車工場(じどうしゃこうじょう)

    Jidoushakoujou

    โรงงานผลิตรถยนต์

     

    บริกร

    บุรุษไปรษณีย์

    郵便配達人(ゆうびんはいたつにん)

    Yuubinhaitatsujin

    แสตมป์

    切手(きって)

    Kitte

    จดหมาย

    手紙(てがみ)

    Tegami

    ซองจดหมาย

    封筒(ふうとう)

    Fuutou

    ที่อยู่

    住所(じゅうしょ)

    Juusho

    รหัสไปรษณีย์

    郵便番号(ゆうびんばんごう)

    Yuubinbangou

    ตู้ไปรษณีย์

    郵便(ゆうびん)ポスト

    Yuubinposuto

    กล่องรับจดหมาย

    郵便受(ゆうびんう)

    Yuubinuke

    พัสดุ

    小包(こづつみ)

    Kodutsumi

     

    บันเทิง

    ผู้กำกับ

    監督(かんとく)

    Kantoku

    ภาพยนตร์

    映画(えいが)

    Eiga

    โรงภาพยนตร์

    映画館(えいがかん)

    Eigakan

    จอภาพยนตร์

    スクリーン

    Sukuriin

    นักแสดงชาย

    男優(だんゆう)

    Danyuu

    นักแสดงหญิง

    女優(じょゆう)

    Joyuu

     

    คำศัพท์

    อักษรโรมันจิ

    ความหมาย

    案内係(あんないがかり)

    Annaigakari

    พนักงานเดินตั๋ว

    映写室(えいしゃしつ)

    Eishashitsu

    ห้องฉายภาพยนตร์

    映写機(えいしゃき)

    Eishaki

    เครื่องฉายภาพยนตร์

    シーン

    Shin

    ฉาก

     

    ข้อสังเกต

                ชาวญี่ปุ่นนั้นมีธนนมเนียมปฏิบัติที่สืบทอดกันมายาวนาน ก็คือการให้ “นามบัตร” หรือ 名刺(めいし) (meishi) มักจะให้นามบัตรของตนแก่ผู้อื่นเมื่อมีการพบกันหรือติดต่อธุรกิจกันเป็นครั้งแรก ในนามบัตรนอกจากจะมีชื่อของตนแล้ว โดยปกติก็จะมีชื่อของบริษัทหรือหน่วยงาน ห้างร้านที่จนสังกัดอยู่ นอกจากนี้ยังมี ชื่อตำแหน่งงาน และที่อยู่ของบริษัทหรือหน่วยงานของจน พร้อมทั้งหมายเลขโทรศัพท์และหมายเลขโทรสารเพื่อสะดวกในการติดต่อ

     

    ตำแหน่งของพนักงานในบริษัท

    คำศัพท์

    อักษรโรมันจิ

    ความหมาย

    社長(しゃちょう)

    Shachou

    ประธานบริษัท

    副社長(ふくしゃちょう)

    Fukushachou

    รองประธานบริษัท

    部長(ぶちょう)

    Buchou

    ผู้จัดการฝ่าย

    課長(かちょう)

    Kachou

    ผู้จัดการแผนก

    経理部長(けいりぶちょう)

    Keiribuchou

    ผู้จัดการฝ่ายบัญชี

    市場開発部長(しじょうかいはつぶちょう)

    Shijoukaihatsubuchou

    ผู้จัดการฝ่ายการตลาด

    営業部長(えいぎょうぶちょう)

    Eigyoubuchou

    ผู้จัดการฝ่ายขาย

    法務部長(ほうむぶちょう)

    Houmubuchou

    ผู้จัดการฝ่ายกฎหมาย

    顧客(こきゃく)サーブス部長(ぶちょう)

    Kokyakusaabusubuchou

    ผู้จัดการฝ่ายบริการลูกค้า

    人事部長(じんじぶちょう)

    Jinjibuchou

    ผู้จัดการฝ่านบุคคล

    秘書(ひしょ)

    Hasho

    เลขานุการ

    会社員(かいしゃいん)

    Kaishain

    พนักงานบริษัท

    旧社員(きゅうしゃいん)

    Kyuushain

    พนักงานเก่า

    新入社員(しんにゅうしゃいん)

    Shinnyuushain

    พนักงานใหม่

    正社員(せいしゃいん)

    Seishain

    พนักงานประจำ

    平社員(ひらしゃいん)

    Hirashain

    พนักงานทั่วไป

    非正規社員(ひせいきしゃいん)

    Hiseikishain

    พนักงานชั่วคราว

    名誉会長(めいよかいちょう)

    Meiyokaichou

    ประธานกิตติมศักดิ์

    常務取締役(じょうむとりしまりやく)

    Joumutorishimariyaku

    กรรมการผู้จัดการ

    取締役副社長(とりしまりやくふくしゃちょう)

    Torishimariyakufukushachou

    รองกรรมการผู้จัดการ

    会長(かいちょう)

    Kaichou

    ประธานกรรมการ

    取締役副会長(とりしまりやくふくかいちょう)

    Torishimariyaku

    รองประธานกรรมการ

    委員会(いいんかい)

    Iinkai

    คณะกรรมการ

     

    เรื่องน่ารู้

                เมื่อพนักงานใหม่เพิ่งเข้ามาทำงานบริษัทเป็นครั้งแรก โดยทั่วไปแล้วบริษัทส่วนใหญ่จะจัดพิธีต้อนรับพนักงานใหม่ หรือที่เรียกว่า 入社式(にゅうしゃしき) (nyuushashiki) โดยพนักงานที่เพิ่งเข้ามาใหม่นั้น จะต้องเข้ารับการฝึกอบรมซึ่งมักใช้เวลาประมาณ 1 เดือนขึ้นไป เพื่อให้พนักงานที่เข้ามาใหม่นั้นได้มีพื้นฐานข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับบริษัท เช่น มารบาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น วิธีดูแลรักษาสุขภาพ เป็นต้น

     

    รู้หรือไม่ ?

                ในบริษัทญี่ปุ่นจะมีการจ่างเงินโบนัส หรือที่เรียกว่า ボーナス (boonasu) ให้แก่พนักงานบริษัท โดยเฉลี่ยนปีละ 2 ครั้ง คือ ในช่วงฤดูร้อนและช่วงสิ้นปี เงินโบนัสที่ทางบริษัทได้จ่ายให้นั้น ก็คือ เงินก้อนจำนวนหนึ่งที่เป็นรายได้ของพนักงานเอง โดยจำนวนโบนัสที่ทางบริษัทได้ต่ายให้กับพนักงานในแต่ละคนนั้นจะมากน้อยแตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละบริษัทและระยะเวลาการทำงานของพนักงาน ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว พนักงานจะได้รับเงินโบนัสประมาณ 5 เท่าของเงินเดือน


    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×