15 สายพันธุ์สัตว์โลกสวยงามที่ใกล้สูญพันธุ์ - 15 สายพันธุ์สัตว์โลกสวยงามที่ใกล้สูญพันธุ์ นิยาย 15 สายพันธุ์สัตว์โลกสวยงามที่ใกล้สูญพันธุ์ : Dek-D.com - Writer

    15 สายพันธุ์สัตว์โลกสวยงามที่ใกล้สูญพันธุ์

    ผู้เข้าชมรวม

    636

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    6

    ผู้เข้าชมรวม


    636

    ความคิดเห็น


    0

    คนติดตาม


    0
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  27 ส.ค. 56 / 22:55 น.


    ข้อมูลเบื้องต้นของเรื่องนี้
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ
      1. เสือดาวหิมะ (Snow Leopard)


      ชื่อวิทยาศาสตร์ Uncia uncia หรือ Panthera uncia
      เสือดาวหิมะเป็นสายพันธุ์แมวขนาดปานกลาง มีถิ่นกำเนิดตามเทือกเขาในเอเชียกลาง มันมีจำนวนราวๆ 3,500 ถึง 7,000 ตัว

      2. นกฟลามิงโก (Flamingos) 



      นกฟลามิงโกเป็นสัตว์ที่อยู่ในวงศ์ Phoenicopteridae และอยู่ในจำพวกPhoenicopterus มีนกฟลามิงโกอยู่ 4 สายพันธุ์ในอเมริกา

      3. แพนด้ายักษ์ (Giant Panda)



      ขณะนี้ทั่วโลกมีแพนด้ายักษ์อยู่ประมาณ 1,590 ตัว

      4. หมีขั้วโลก (Polar Bear)



      หมีขั้วโลกมีชื่อวิทยาสาสตร์ว่า Ursus maritimus มีถิ่นกำเนิดขนาดใหญ่อยู่ที่อาร์คติคเซอร์เคิลที่ล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอาร์คติค

      5. ปลามังกร, ปลาตะพัด, ปลาอะโรวาน่า (Arowana)



      ปลามังกรเป็นปลากระดูกแข็ง อาศัยในน้ำจืด อยู่ในวงศ์ Osteoglossidae บางครั้งเรียกว่าปลาลิ้นกระดูก (Bonytongues)

      6. แพะป่ามาร์คอร์ (Markhor)



      มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Capra falconeri มีถิ่นกำเนิดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอัฟกานิสถาน อินเดียเหนือ (ตะวันตกเฉียงใต้ของจัมมูและแคชเมียร์) ภาคเหนือและภาคกลางของปากีสถาน มีประชากรตัวเต็มวัยน้อยกว่า 2,500 ตัว ซึ่งยังลดลงอย่างต่อเนื่อง

      7. เสือดาว (Leopard)



      ชื่อวิทยาศาสตร์ Panthera pardus วงศ์ Felidae
      จัดเป็นสายพันธุ์แมวขนาดใหญ่แต่มีขนาดเล็กที่สุดจาก 4 สายพันธุ์ อีก 3 สายพันธุ์คือ เสือ สิงโต และเสือจากัวร์

      8.เสือเบงกอล, เสือโคร่ง, เสือลายพาดกลอน (Bengal Tiger)



      ชื่อวิทยาศาสตร์ Panthera tigris tigris หรือ Panthera tigris bengalensis
      เป็นเสือสายพันธุ์หนึ่งพบมากในอินเดีย ตามข้อมูลขององค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล หรือ กองทุนสัตว์ป่าโลก (World Wide Fund for Nature-WWF) พบว่ามีเสือเบงกอลตามธรรมชาติอยู่ประมาณ 2,000 กว่าตัวทั่วโลก (1,411 ตัวในอินเดีย, 450 ตัวในบังคลาเทศ, 150 ตัวในเนปาล, 100 ตัวในภูฏาน ที่เหลืออยู่ในพม่า ไทย และจีน

      9. ฮิโรลา (Hirola)



      ชื่อวิทยาศาสตร์ Beatragus hunteri หรือ Damaliscus hunteri
      เป็นละมั่งสายพันธุ์หนึ่งพบในที่ราบป่าหญ้าแห้งที่อยู่ตรงชายแดนระหว่างเคนยาและโซมาเลีย ฮิโรลามีจำนวนวิกฤตที่จะสูญพันธ์ อยู่ประมาณ 500 ถึง 1,200 ตัวในธรรมชาติ

      10. หมาใน, หมาแดง (Dhole)



      ชื่อวิทยาศาสตร์ Cuon alpinus
      มีจำนวนประมาณ 2,000 ตัวที่อาศัยอยู่ในป่า

      11. หมาจิ้งจอกแดง (Red Fox)



      ชื่อวิทยาศาสตร์  Vulpes vulpes
      เป็นสายพันธุ์หมาป่าขนาดเล็ก อาศัยอยู่ในอเมริกาเหนือ ยูเรเชีย และแอฟริกาเหนือ

      12. เพนกวินมาเจลลัน (Magellanic penguin)



      ชื่อวิทยาศาสตร์  Spheniscus magellanicus
      อาศัยอยู่ในอเมริกาใต้ เช่นชายฝั่งทะเลของอาร์เจนติน่า ชิลี และ หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ และบางส่วนที่ย้ายถิ่นฐานไปบราซิล

      13. กระรอกบินนัมดาฟา (Namdapha Flying Squirrel)


      ชื่อวิทยาศาสตร์  Biswamoyopterus biswasi
      มันอาศัยอยู่บนต้นไม้ ออกหากินกลางคืน มีถิ่นฐานที่อินเดีย

      14. หมาป่าหิมาลายัน (Himalayan Wolf)



      ชื่อวิทยาศาสตร์  Canis himalayensis
      เป็นสายพันธุ์หมาป่าที่กำลังวิกฤตสูญพันธุ์ มีจำนวนประมาณ 350 ตัว

      15. นกเงือกนาร์คอนแดม (Narcondam Hornbill)



      ชื่อวิทยาศาสตร์ Rhyticeros narcondami อยู่ในวงศ์ Bucerotidae
      เป็นสายพันธุ์หนึ่งของนกเงือก อาศัยอยู่เฉพาะที่เกาะอินเดีย ในหมู่เกาะอันดามัน

      แหล่งรวมบทความสารคดีประวัติศาสตร์ บทความสารคดีจักรวาลและดาวเคราะห์ บทความสารคดีสงคราม บทความสารคดีภัยธรรมชาติ บทความสารคดีชีวิตสัตว์ บทความสารคดีอาวุธทางการทหาร บทความสารคดีการจัดอันดับ บทความสารคดีวิทยาศาสตร์ บทความสัมภาษณ์คนดัง บทสนทนาปัญหาเศรษฐกิจ บทสนทนาประเด็นข่าวร้อน เรื่องราวน่ารู้ ความรู้ทั่วไป สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ไลฟ์สไตล์ สุขภาพ ผู้หญิง ความงาม แม่และเด็ก สัตว์เลี้ยง อาหาร ร้านอาหาร เกมส์ เทคโนโลยี มาดูกันได้ที่  http://megatopic.blogspot.com



      นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      คำนิยม Top

      ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

      คำนิยมล่าสุด

      ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

      ความคิดเห็น

      ×