ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    คลังสรุปมหากาพย์ข้อสอบTU : by. BiwTigerPisces

    ลำดับตอนที่ #25 : [Sumเทอม2] สังคม : หน้าที่พลเมือง การเมือง การปกครอง

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 4.3K
      6
      19 ธ.ค. 56

    [Sumเทอม2] สังคม : หน้าที่พลเมือง การเมือง การปกครอง

    กราบสวัสดีก่อนนะฮัฟทุกท่าน รอบนี้สรุปแบบไฟลนก็กลับมาเยือนเช่นเคย
    ซึ่งในรอบนี้ก็จะเป็นของ วิชาของsum ที่มีเนื้อหาวกวนมากที่สุดวิชาหนึ่งเลยก็ว่าได้
    ขอบอกว่าไว้ก่อนว่า สรุปนี้ ไม่ช่วยให้คุณทำได้เต็มหรอก (อ่าว...) แต่มั่นใจว่า ถ้าจำเท่าที่สรุปนี้มี คุณไม่ตกซัมแน่นอน

    *อย่างไรก็ตาม สรุปนี้ควรอ่านเพื่อทบทวนความจำ หรือไม่ทันแล้วจริงๆ จะดีกว่า
    เพราะถ้ามีเวลาอ่านตามที่จดมาเองก็ปลอดภัยกว่านะจ๊ะ

    บทที่ 2 ระบบการเมืองการปกครอง

    ความหมาย : ข้อตกลงระหว่างสมาชิกในสังคมที่จะมีการใช้อำนาจบังคับใช้เพื่อให้สังคมมีระเบียบแบบแผน

       ประชาธิปไตย เป็นรูปแบบการปกครองที่ประชาชนมีสิทธิส่วนร่วมในการใช้อำนาจสูงสุดปกครองประเทศโดยความเสมอภาค เท่าเทียม นั่นคือ ประชาชน เพื่อประชาชน

     

     

    สิทธิ หมายถึง อำนาจหรือประโยชน์ของบุคคลซึ่งกฎหมายรองรับและคุ้มครองในฐานะที่เป็นพลเมืองของรัฐ
     

    เสรีภาพ หมายถึง โอกาสที่บุคคลสามารถปฏิบัติได้ โดยที่จะถูกควบคุมน้อยที่สุด และไม่ละเมิดเสรีภาพผู้อื่น
    หน้าที่ หมายถึง สิ่งที่บุคคลต้องปฏิบัติ

     

    ต่างกันยังไง  

               เสรีภาพคือ การจะทำอะไรที่ไม่เกิดผลต่อระบบทางสังคม อย่างเช่น เสรีภาพที่จะเดินสยาม เอ็งจะเดินหรือไม่เดิน บ้านเมืองก็ไม่มีทางเปลี่ยนทั้งในตอนนี้ หรืออนาคต
               ส่วนสิทธิคือ การกระทำที่เกิดผลต่อระบบทางสังคม อย่างเช่น สิทธิที่จะได้เรียน พอเรียนจะได้โตมามีงานทำ พอมีงานทำ ก็เป็นอีกหนึ่งแรงช่วยผลักดันประเทศได้ แค่นี้แหละ

     

     

    รูปแบบระบบประชาธิปไตย

    1. ทางตรง / แบบมีส่วนร่วม : ประชาชนเป็นคนออกความเห็น จัดทำ ขับเคลื่อนประเภท การเมืองอะไรไม่ต้อง //สภาประชาชนนั่นเอง แต่ตอนนี้ ไม่มีแล้วจ้ะ

    2. ทางอ้อม / แบบมีผู้แทน : ต้องผ่านผู้แทนที่จะทำหน้าที่พัฒนาประเทศ ของไทยก็เช่นกัน

     

    ประเภทระบบประชาธิปไตย

    ประเภท

    รัฐสภา

    ประธานาธิบดี

    ระบบกึ่งประธานาธิบดี กึ่งรัฐสภา

    ต้นแบบ

    อังกฤษ

    (สภาล่าง ตัวแทนที่มาจากคนธรรมดา กับสภาสูง ตัวแทนที่มาจากขุนนาง)

    อเมริกา

    ฝรั่งเศส

    ผู้เลือกตั้ง

    ประชาชนเลือกทุกสิ่งอัน

    ประชาชนเลือกทุกสิ่งอัน

    ประชาชนเลือกประธานาธิบดี + สส.

    แต่ สว. เลือกเองไม่ได้

    ตัวอย่างประเทศที่ใช้

    ไทย สิงคโปร์ กัมพูชา มาเลเซีย อินเดีย ญี่ปุ่น สเปน อิตาลี

    อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ อาร์เจนตินา บราซิล เวเนซุเอลาและ ประเทศในทวีปอเมริกาใต้ทั้งหลาย

    ฝรั่งเศส ฟินแลนด์ โปรตุเกส กรีซ

    หมายเหตุ

    ประมุขมีได้ 2 แบบ
    1. ประธานาธิบดี
    2. พระมหากษัตริย์

    พวก 3 อำนาจ ถ่วงดุลอำนาจกันเองเป็นหลัก**

    ไม่มีแบบไล่ฟ้องกันเอง ไม่มีการยุบสภา

    ประธานาธิบดียุบสภาได้

     

    --การถ่วงดุลอำนาจกันเองของระบบประธานาธิบดี

     

     

    ข้อดี – ข้อเสีย

    - ที่ดีก็คือ ประเทศไม่โหดร้ายทารุณ ประชาชนมีโอกาสได้พัฒนาประเทศ สนองความต้องการได้
    - แต่แย่ที่ดำเนินการยาก จะทำอะไรทีต้องรอนับเสียงโหวต โหวตเสร็จไม่พอใจหวีดร้องเอาใหม่ วนลูป เลือกตั้งแต่ละทีใช้งบเยอะ และที่สำคัญ พูดง่าย ทำยากสัสค่ะ

     

    ระบอบของไทย

    เป็นระบอบประชาธิปไตย รัฐสภาโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

    อำนาจหลัก 3 หน่วยงาน

    อำนาจ

    อำนาจนิติบัญญัติ

    อำนาจบริหาร

    อำนาจตุลาการ

    ผู้ใช้

    รัฐสภา

    รัฐมนตรี

    ศาล

    หน้าที่

    ร่างรัฐธรรมนูญ
    ประกอบด้วย
    สส. + สว.



    ***รายละเอียดตารางด้านล่าง***

     

    บริหารดูแลประเทศ
    35 คน
    (34 สมาชิก + 1 นายก)

    ตัดสินคดีความ

     ศาลรัฐธรรมนูญ = ตัดสินคดีทางรัฐธรรมนูญ เรื่องกฎหมายที่ดูจะมีผลต่อประเทศชาติรุนแรง
     ศาลยุติธรรม
    = ชั้นต้น อุทธรณ์ ฎีกา สามขั้นแก้ไขเรื่องทั่วไปในสังคมทุกรปะการ
      ศาลทหาร
    = ตามชื่อ จัดการเรื่องในทหารอย่างเดียว
      *ฝ่ายที่ไฝ้ว์กันต้องเป็นทหารทั้งคู่ ไม่งั้นก็โยนไปยุติธรรม

    สส. 500 คน

    สว. 150 คน

     

    375        
    แบ่งเขต

    125

    บัญชีรายชื่อ หรือปาร์ตี้ลิสต์*

    77
    เลือกตั้ง(ตามจังหวัด)

    73

    สรรหา

     

    เป็นตัวแทนประชาชน ต้องสังกัดพรรคการเมือง

    ห้ามสังกัดพรรคการเมือง

     

    มีหน้าที่เสนอ และร่างกฎหมาย

    มีหน้าที่ พิจารณาถอดถอนบุคคลที่ถูกร้องเรียน

     

    อำนาจถอดถอน : หวีดร้องเด็ดใครก็ได้ ที่ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

    อำนาจถอดถอน : เด็ดได้แค่พวกสว.ด้วยกันเอง

     

                   

    *การทำปาร์ตี้ลิสต์
    ทุกๆ 100
    ,000 คะแนนจะทำให้เกิด สส.แบบปาร์ตี้ลิสต์ 1 คน
    เท่ากับว่า จะมีคะแนนมากสุดไม่เกิน 12
    ,500,000 คะแนน ต่อการทำปาร์ตี้ลิสต์ 1 ครั้ง


    การใช้อำนาจของประมุขไทย
    - ใช้ 3 อำนาจ ตามที่กล่าวไว้ในข้อก่อนหน้า
    - สำหรับการลงรัฐธรรมนูญ / แต่งตั้ง มีหน้าที่เป็นผู้ลงพระปรมาภิไทย แต่คนรับผิดชอบคือ คนที่รับสนองพระบรมราชโองการ

     

    •••••••••

     

    เผด็จการ เป็นรูปแบบการปกครองที่มีบุคคล หรือกลุ่มที่ครองอำนาจทางการเมือง  โดยไม่เปิดโอกาสให้ใครอื่นมามีส่วนร่วมปกครองประเทศ

     

    ประเภทการปกครองเผด็จการ

    เดี่ยว
    1.สมบูรณาญาสิทธิราชย์
    : กษัตริย์มีอำนาจสูงสุด
    2.เผด็จการโดยผู้เผด็จการ
    : คนปกติขึ้นมามีอำนาจขาดเพียงผู้เดียว อาทิ ฮิทเลอร์ มุสโซลินี

    กลุ่ม
    1.อภิชณาธิปไตย
    : ขุนนางจับมือกันเฮี้ยบ ตัออย่างเช่น โชกุนของญี่ปุ่น ฟิวดัล
    2.คณาธิปไตย
    : กลุ่มคนที่รวมตัวปกครองประเทศแบบสิทธิ์ขาด
    3. คอมมิวนิสต์
    : พรรคที่มีการศึกษาก้าวหน้า มากำหนดนโยบายรูปแบบต่างๆ
     

     

    รูปแบบเผด็จการ

    1.เผด็จการอำนาจนิยม หรือ เผด็จการทหาร >>> คุมเรื่องการเมือง only

    2.เผด็จการเบ็ดเสร็จนิยม >>> คุมทุกอย่างไม่ว่างเว้น เช่น จีน เวียดนาม เกาหลีเหนือ คิวบา

    - ฟาสซิสต์ : มี inspiration มาจาก ชาร์ล ดาวินส์ “ผู้ที่แข็งแกร่งเท่านั้นจึงจะอยู่รอด”
    ชาตินิยม ผูกขาดการจัดตั้งรัฐบาล ผู้นำมีคนเดียว ชอบขยายอาณาเขต เลยต้องตีชาวบ้านไปทั่ว จึงสนับสนุนทหารเป็นหลัก ตัวอย่างคือ อิตาลี (ฟาสซิสต์) + เยอรมนี (นาซี) + ญี่ปุ่น

    - คอมมิวนิสต์ : มี inspiration มาจาก มาร์กซิสต์เลนินนิสต์ เน้นการทำลายชนชั้น เพื่อความเสมอภาค มรึงเป็นยังไง กรูได้เท่ากับมรึง พูดง่ายๆ ก็คือ กำจัดชนชั้นนายทุนให้หมดไป

     

    ข้อดี – ข้อเสีย

    - มีดีที่ทำงานรวดเร็ว นึกอะไรใช้ยังงั้นทันที แล้วก็เด็ดขาดกว่า กำจัดคนผิดง่าย ว่าไงว่ากัน
    - แต่แย่ที่หัวเดียว ถ้าอีผู้นำไม่เก่งก็พาลงเหวทั้งประเทศ คนดีจากประชาชนไม่ได้ผุดไม่ได้เกิด ล้าสมัย โบราณกาลมาก

     

    แนะนำ : สรุปแผนภูมิการปกครองหน้า16 เวิร์คมากค่ะ อ่านตรงนั้นอีกทีนะ

     

    ••••••••••••••

     

    การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

    นอกจากสามอำนาจเย้วๆ ของประเทศแล้ว ยังมีอีกอำนาจมืดที่มาคอยปราบราม 3 อำนาจไม่ให้เหลิงไป นั่นคือ [องค์กรตรวจสอบตามรัฐธรรมนูญ]

    องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ

    องค์กรอื่นๆ

    - คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของชาติ (ปปช.) >> ชี้มูลความผิดได้ ชี้ใครคนนั้นลาออกทันที


    - ผู้ตรวจการแผ่นดิน  >>> ต้องรวมหลักฐานแล้วไปฟ้อง แต่ก็ตักเตือนได้อย่างเดียว (อ่อนแอสัสค่ะ)


    - คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.)


    - คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) >>> มี 5 คน
    ประธาน กกต. ตำแหน่งเดียวกับ นายทะเบียนพรรคการเมือง

    - องค์กรอัยการ
     

     

    - คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
     

     

     

    - สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

    วุฒิสภา เลือก

    เป็นได้ 1 วาระ จบแล้วจบกัน อย่ามาอีก

     

    วิธีการตรวจสอบ

    ยื่นบัญชีรายการทรัพย์สิน และหนี้สิน
       คือ พวกระดับสูงในพรรคการเมืองจะต้อง ยื่นให้ดูเพื่อไม่ให้รู้ว่าแอบกินขโมยกิน ทั้งตอนเข้า และออกจากตั้งตำแหน่ง ไม่เกิน 1 เดือน (แต่ถึงเวลาก็สรรหาวิธีมานะคะ)

    อภิปรายไม่ไว้วางใจ / ลงมติไม่ไว้วางใจ

    สส. โจมตีนายกฯ

    1 ใน 5 (20%)

    สส. โจมตีรัฐมนตรีรายบุคคล

    1 ใน 6 (15%)

    ทำไปเพื่อ เรียกพวกมาร่วมด้วยช่วยกันเมื่อจะยื่นถอดถอน+ดำเนินคดี

    การถอดถอน

    หลังจากที่หาพวกจากการร่วมอภิปรายเสร็จ วงจรการถอดถอนก็จะเริ่มขึ้น เป็นวงจรที่สนุกสนานใช่ย่อยนะคะ เพราะเริ่มเรื่องมาเป็นการผลัดไม้ ผลัดกันตบคนละตุ้บ ถ้าคนที่โดนมีของดีก็จะโดนแค่ตุ้บเดียว แต่ถ้าไม่สู้อะไรเลยก็จะโดนสั่งไปตุ้บๆ ตั้บๆ ประสานคอมโบต่อกันเรื่อยๆ ตามนี้ค่ะ



    *หมายเหตุ : ความจริงแล้ว ขั้นแบน ต่อให้สว. เห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วย ก็จะต้องไปโดนศาลดำเนินคดีอยู่ดี
    นั่นหมายความว่า จะมีฉากจบอีกแบบคือ ลาออกอย่างเดียว แล้วไปรับโทษ พอหมดโทษก็กลับมาเล่นการเมืองต่อได้ ประมาณนี้

    (แต่ส่วนใหญ่ สว.จะเห็นด้วยมาก่อนอยู่แล้ว)

    **พิเศษ สกิลของแต่ละหน่วยลงทัณฑ์**

             
     

     

    บทที่4 การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบบประชาธิปไตย

    สโลแกน
    -ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจ
    - สมัครใจ เพื่อส่วนรวม ปัญญาชน นิติธรรมหรือกฎหมายแก้ปัญหา
    - วิธีมีส่วนร่วมทางการเมือง
    : วิพากษ์วิจารณ์บนสเตตัสเฟสบุ๊ค ไปชุมนุม ไปเลือกตั้งใหม่

     

    กลุ่มผลประโยชน์ คือ การรวมกลุ่มเพื่อทำประโยชน์ตน แต่ไม่ยุ่งเกี่ยวทางการเมือง
    (ประมาณว่า มาประท้วงกันแค่เพื่อปากท้อง การเมืองจะเป็นยังไง ไม่ใช่เรื่องกรู)

    2 ประเภท 1.) กลุ่มอาชีพ (เส้นเล็ก) เช่น กลุ่มเกษตรกร แรงงาน ราชการ ธุรกิจทั่วไป
                  2.) กลุ่มอิทธิพล (เส้นใหญ่)
    เช่น สมาพันธ์นิสิตนักศึกษา องค์กรเกษตรกรประจำภาค

     

    ความสำคัญของการเลือกตั้ง : เพื่อเป็นอีกหนึ่งแรงในการขับเคลื่อนพัฒนาชาติ โดยสันติวิธี

     

    ประเภทการเลือกตั้ง

    แบ่งตามลักษณะเลือกตั้ง

    แบ่งตามการจัดเขต

    แบ่งตามวิธีคิดคะแนน

    1. เลือกตั้งพร้อมกันทั้งประเทศ (หา สส. + สว.)

     

    2. เลือกตั้งซ่อม เกิดขึ้นเมื่อ ตำแหน่ง สส. แหว่งไปไม่หมดก๊วน ก็เลยหาคนมาโปะเพิ่ม

     

    3. เลือกตั้งซ้ำ ตามชื่อ ถ้าเลือกครั้งก่อนมีทุจริตก็เอาใหม่

    1.เขตจังหวัด
    แต่ละจังหวัด จะเลือก สว. เพียง 1 คน ต่อ 1 ครั้ง

     

    2.เขตเลือกตั้ง

    ถ้าเป็นเขตใหญ่จะรับจำนวน สส. ได้มากขึ้นตามอัตราส่วนประชากรในเขตนั้น

    1. เอาตามเสียงข้างมาก

     

    2. เสียงข้างมากสองรอบ

    เกิดขึ้นด้วยกรณีที่นอนหลับทับสิทธิ์กันทั่วบ้านทั่วเมือง ก็เลยจะรวมผลจากสองรอบมารวมกัน..

     


     

     ----------------


     

    บทที่5 การเป็นพลเมืองดีของประชาชาติและสังคมโลก

    สรุปคือ การเป็นบุคคลที่ปฏิบัติตามระบบกฎระเบียบกฎเกณฑ์และบรรทัดฐานของสังคม



     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×