ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ความรู้ในสาขาวิชาวิทยาศาตร์

    ลำดับตอนที่ #16 : การวัดอัตราเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

    • อัปเดตล่าสุด 30 เม.ย. 49


     การวัดอัตราเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

                  วัตถุบางชนิดขณะเคลื่อนที่จะไม่มีเครื่องวัดอัตราเร็วเหมือนกับรถยนต์ เช่น คนวิ่ง ผลไม้ตกจากต้นไม้ ถ้าต้องการทราบอัตราเร็วของสิ่งเหล่านัน ก็สามารถทำได้โดยใช้นาฬิกาจับเวลา และวัดระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ นำมาคำนวณโดยใช้สมการ  

                 มีเครื่องมือที่ใช้ในการวัดอัตราเร็วของการเคลื่อนที่อีกแบบหนึ่ง คือ เครื่องเคาะสัญญาณเวลา (Ticker Tape Timer) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่เหมาะที่ใช้วัดอัตราเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่ในเวลาสั้น ๆ ขณะ เครื่องเคาะสัญญาณเวลาทำงาน แผ่นเหล็กสปริงจะสั่นทำให้เหล็กที่ติดปลายเคาะลงไปบนแป้นไม้ที่รองรับเป็นจังหวะด้วยความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับที่ใช้เคาะ คือ 50 ครั้งใน 1 วินาที ดังนั้น ช่วงเวลาระหว่างการเคาะครั้งหนึ่งกับครั้งถัดไปมีค่าเท่ากับ 1/50 วินาที ช่วงเวลานี้จะคงที่เพราะความถี่ของไฟฟ้าที่ใช้ค่าคงที่ ช่วงเวลานี้บางครั้งเรียกว่า เวลา 1ช่วงจุด ดังนั้น

    เวลา 1ช่วงจุด = วินาที

    ตัวอย่างแถบกระดาษที่ได้จากการใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลา

                   การคำนวณหาอัตราเร็วจากจุดที่ปรากฎบนแถบกระดาษ

          

            t หาจาก ช่วงจุดจาก A ถึง B คือ 5 ช่วงจุด  คูณด้วย         

                           

                          

      นอกจากหาอัตราเร็วแล้วเรายังสามารถคำนวณหาความเร็วและความเร่งจากจุดที่ปรากฎบนแถบกระดาษได้ด้วย เพราะการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงโดยไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง

                                                                                  

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×