ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ความรู้ในสาขาวิชาวิทยาศาตร์

    ลำดับตอนที่ #15 : สมการการเคลื่อนที่ในแนวราบ

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 2.84K
      5
      30 เม.ย. 49

    สมการการเคลื่อนที่ในแนวราบ

                           หลักสำคัญในการแก้ปัญหา คือ อย่าไปกังวลว่าจะทำอย่างไรแต่ให้หาดูว่าโจทย์กำหนดปริมาณใดมาให้บ้างและโจทย์ต้องการอะไร ซึ่งโดยทั่วไปโจทย์จะต้องมีปริมาณที่จะให้เราแทนค่าในสมการได้ แต่ทั้งนี้นักเรียนจะต้องรู้จักและเข้าใจความหมายของปริมาณต่าง ๆ ที่ใช้ในสมการแต่ละสมการได้เป็นอย่างดี



      

       

        



      u  คือ  ความเร็วต้น (m/s)

      v  คือ  ความเร็วปลาย (m/s)

      a  คือ  ความเร่ง (m/s2)

      t   คือ   เวลา (s)

      s  คือ  การกระจัด (m)



      เกร็ดเล็ก ๆ ที่สำคัญ

               (1) วัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง แสดงว่า ความเร็วต้น u = 0
               (2) วัตถุเคลื่อนที่ไปแล้วหยุด แสดงว่า ความเร็วปลาย v = 0
               (3) วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงไปทางเดียวตลอด โดยไม่เปลี่ยนทิศ ขนาดการกระจัด = ระยะทาง
               (4) กรณีวัตถุมีความเร็วคงตัว ความเร่ง a เป็นศูนย์ อาจใช้สูตร s= vt ได้
               (5) การกำหนดเครื่องหมาย ปริมาณทุกปริมาณในสมการเป็นปริมาณเวกเตอร์ทั้งหมด ยกเว้น t จึงต้องแทนเครื่องหมายด้วย  คือ
                     - ทิศของ u เป็นบวกเสมอ ปริมาณใดก็ตามที่มีทิศตรงข้ามกับ u จะมีเครื่องหมายลบ
                     - การกระจัดต้องวัดจากจุดเริ่มต้น และพิจารณาประกอบกับทิศของ u

      u  คือ  ความเร็วต้น (m/s)

      v  คือ  ความเร็วปลาย (m/s)

      a  คือ  ความเร่ง (m/s2)

      t   คือ   เวลา (s)

      s  คือ  การกระจัด (m)



      เกร็ดเล็ก ๆ ที่สำคัญ

               (1) วัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง แสดงว่า ความเร็วต้น u = 0
               (2) วัตถุเคลื่อนที่ไปแล้วหยุด แสดงว่า ความเร็วปลาย v = 0
               (3) วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงไปทางเดียวตลอด โดยไม่เปลี่ยนทิศ ขนาดการกระจัด = ระยะทาง
               (4) กรณีวัตถุมีความเร็วคงตัว ความเร่ง a เป็นศูนย์ อาจใช้สูตร s= vt ได้
               (5) การกำหนดเครื่องหมาย ปริมาณทุกปริมาณในสมการเป็นปริมาณเวกเตอร์ทั้งหมด ยกเว้น t จึงต้องแทนเครื่องหมายด้วย  คือ
                     - ทิศของ u เป็นบวกเสมอ ปริมาณใดก็ตามที่มีทิศตรงข้ามกับ u จะมีเครื่องหมายลบ
                     - การกระจัดต้องวัดจากจุดเริ่มต้น และพิจารณาประกอบกับทิศของ u

      

       

        



      u  คือ  ความเร็วต้น (m/s)

      v  คือ  ความเร็วปลาย (m/s)

      a  คือ  ความเร่ง (m/s2)

      t   คือ   เวลา (s)

      s  คือ  การกระจัด (m)



      เกร็ดเล็ก ๆ ที่สำคัญ

               (1) วัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง แสดงว่า ความเร็วต้น u = 0
               (2) วัตถุเคลื่อนที่ไปแล้วหยุด แสดงว่า ความเร็วปลาย v = 0
               (3) วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงไปทางเดียวตลอด โดยไม่เปลี่ยนทิศ ขนาดการกระจัด = ระยะทาง
               (4) กรณีวัตถุมีความเร็วคงตัว ความเร่ง a เป็นศูนย์ อาจใช้สูตร s= vt ได้
               (5) การกำหนดเครื่องหมาย ปริมาณทุกปริมาณในสมการเป็นปริมาณเวกเตอร์ทั้งหมด ยกเว้น t จึงต้องแทนเครื่องหมายด้วย  คือ
                     - ทิศของ u เป็นบวกเสมอ ปริมาณใดก็ตามที่มีทิศตรงข้ามกับ u จะมีเครื่องหมายลบ
                     - การกระจัดต้องวัดจากจุดเริ่มต้น และพิจารณาประกอบกับทิศของ u

      u  คือ  ความเร็วต้น (m/s)

      v  คือ  ความเร็วปลาย (m/s)

      a  คือ  ความเร่ง (m/s2)

      t   คือ   เวลา (s)

      s  คือ  การกระจัด (m)



      เกร็ดเล็ก ๆ ที่สำคัญ

               (1) วัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง แสดงว่า ความเร็วต้น u = 0
               (2) วัตถุเคลื่อนที่ไปแล้วหยุด แสดงว่า ความเร็วปลาย v = 0
               (3) วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงไปทางเดียวตลอด โดยไม่เปลี่ยนทิศ ขนาดการกระจัด = ระยะทาง
               (4) กรณีวัตถุมีความเร็วคงตัว ความเร่ง a เป็นศูนย์ อาจใช้สูตร s= vt ได้
               (5) การกำหนดเครื่องหมาย ปริมาณทุกปริมาณในสมการเป็นปริมาณเวกเตอร์ทั้งหมด ยกเว้น t จึงต้องแทนเครื่องหมายด้วย  คือ
                     - ทิศของ u เป็นบวกเสมอ ปริมาณใดก็ตามที่มีทิศตรงข้ามกับ u จะมีเครื่องหมายลบ
                     - การกระจัดต้องวัดจากจุดเริ่มต้น และพิจารณาประกอบกับทิศของ u

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×