ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ความรู้ในสาขาวิชาวิทยาศาตร์

    ลำดับตอนที่ #1 : อาวุธชีวภาพ

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 1.01K
      0
      8 เม.ย. 49


    อาวุธชีวภาพ

    ในศตวรรษนี้เทคโนโลยีที่เป็นที่สนใจของสังคม คือ เทคโนโลยีสารสนเทศและเทศโนโลยีชีวภาพ เฉพาะเทคโนโลยีชีวภาพนั้นมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว เราจะเห็นด้วยหรือไม่ก็ตาม เทคโนโลยีชีวภาพเข้ามามีบทบาทต่อการดำรงชีวิตของคนเรามากขึ้นเรื่อยๆ    ในอนาคตคงจะหลีกเลี่ยงไม่ได้เลย ไม่ว่าจะเป็นด้านการเกษตร อุตสาหกรรมอาหาร การสาธารณสุข

                        เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนำเอาสิ่งมีชีวิตหรือชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตมาปรับปรุงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์มากขึ้นโดยใช้เทคโนโลยี  เทคโนโลยีชีวภาพก็เหมือนเทคโนโลยีอื่นๆ ที่มีผู้นำประโยชน์ของเทคโนโลยีไปใช้ในทางลบ เช่น นำเอาสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายต่อพืช สัตว์ โดยเฉพาะมนุษย์มาใช้เป็นอาวุธทำลายล้างกัน ที่เรียกว่าอาวุธชีวภาพ ซึ่งเป็นมหันตภัยที่คุกคามมวลมนุษย์อย่างมาก สิ่งมีชีวิตที่นำมาใช้เป็นอาวุธชีวภาพได้แก่พวกจุลินทรีย์ ที่เป็นเชื้อโรค รวมทั้งชิ้นส่วนของจุลินทรีย์ เช่น สปอร์ หรือเส้นใยของราหรือแบคทีเรีย รวมทั้งพรีออน ( Prion : เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดโรคที่ไม่ใช่เซลล์และไม่มีสารพันธุกรรมมีแต่โปรตีน) และสารพิษที่สกัดจากสิ่งมีชีวิต เป็นอาวุธที่มีอานุภาพในการทำลายล้างสูง ทำให้คนจำนวนมากในพื้นที่กว้างได้รับบาดเจ็บ ป่วย และตาย ในทางทหารนั้น จุลินทรีย์ที่สามารถนำมาผลิตเป็นอาวุธชีวภาพได้ ต้องมีคุณสมบัติผลิตง่าย ต้นทุนต่ำ มีความคงทนในการผลิต เก็บรักษาไว้ได้นานโดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ และเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง

    เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนำเอาสิ่งมีชีวิตหรือชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตมาปรับปรุงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์มากขึ้นโดยใช้เทคโนโลยี  เทคโนโลยีชีวภาพก็เหมือนเทคโนโลยีอื่นๆ ที่มีผู้นำประโยชน์ของเทคโนโลยีไปใช้ในทางลบ เช่น นำเอาสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายต่อพืช สัตว์ โดยเฉพาะมนุษย์มาใช้เป็นอาวุธทำลายล้างกัน ที่เรียกว่าอาวุธชีวภาพ ซึ่งเป็นมหันตภัยที่คุกคามมวลมนุษย์อย่างมาก สิ่งมีชีวิตที่นำมาใช้เป็นอาวุธชีวภาพได้แก่พวกจุลินทรีย์ ที่เป็นเชื้อโรค รวมทั้งชิ้นส่วนของจุลินทรีย์ เช่น สปอร์ หรือเส้นใยของราหรือแบคทีเรีย รวมทั้งพรีออน ( Prion : เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดโรคที่ไม่ใช่เซลล์และไม่มีสารพันธุกรรมมีแต่โปรตีน) และสารพิษที่สกัดจากสิ่งมีชีวิต เป็นอาวุธที่มีอานุภาพในการทำลายล้างสูง ทำให้คนจำนวนมากในพื้นที่กว้างได้รับบาดเจ็บ ป่วย และตาย ในทางทหารนั้น จุลินทรีย์ที่สามารถนำมาผลิตเป็นอาวุธชีวภาพได้ ต้องมีคุณสมบัติผลิตง่าย ต้นทุนต่ำ มีความคงทนในการผลิต เก็บรักษาไว้ได้นานโดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ และเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง

                        ในอดีตมีการนำจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรคมาใช้เป็นอาวุธชีวภาพมานานแล้วแต่เป็นการผลิตตามธรรมชาติ ในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิต ทำให้ผลิตได้รวดเร็ว ก่อให้เกิดโรคที่แตกต่างจากลักษณะของโรคที่มีอยู่เดิม ซึ่งจะก่อให้เกิดอันตรายที่มีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม และระบาดหรือแพร่กระจายในวงกว้าง จุลินทรีย์บางชนิดอาจสร้างสารพิษได้ไม่มากเท่าไร แต่ถ้ามีการนำเทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพันธุวิศวกรรมมาใช้ จุลินทรีย์ชนิดนั้นจะสามารถผลิตสารพิษได้มากขึ้น หรือทนต่อสภาพแวดล้อมมากขึ้น เมื่อนำไปใช้เป็นอาวุธก็จะเกิดความรุนแรงอย่างมากหรือดื้อต่อยาต้านจุลชีพ หรือการให้วัคซีนไม่ได้ผล ส่วนใหญ่จะแพร่กระจายได้ดีสมบัติจะเปลี่ยนไปจากเดิม ยากต่อการจำแนกและรักษา

    ในอดีตมีการนำจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรคมาใช้เป็นอาวุธชีวภาพมานานแล้วแต่เป็นการผลิตตามธรรมชาติ ในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิต ทำให้ผลิตได้รวดเร็ว ก่อให้เกิดโรคที่แตกต่างจากลักษณะของโรคที่มีอยู่เดิม ซึ่งจะก่อให้เกิดอันตรายที่มีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม และระบาดหรือแพร่กระจายในวงกว้าง จุลินทรีย์บางชนิดอาจสร้างสารพิษได้ไม่มากเท่าไร แต่ถ้ามีการนำเทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพันธุวิศวกรรมมาใช้ จุลินทรีย์ชนิดนั้นจะสามารถผลิตสารพิษได้มากขึ้น หรือทนต่อสภาพแวดล้อมมากขึ้น เมื่อนำไปใช้เป็นอาวุธก็จะเกิดความรุนแรงอย่างมากหรือดื้อต่อยาต้านจุลชีพ หรือการให้วัคซีนไม่ได้ผล ส่วนใหญ่จะแพร่กระจายได้ดีสมบัติจะเปลี่ยนไปจากเดิม ยากต่อการจำแนกและรักษา

                        จุลินทรีย์ที่จะใช้เป็นอาวุธชีวภาพควรมีลักษณะอย่างไร ?

                        คำตอบคือ ต้องทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและมีผลกระทบต่อมนุษย์ หรือมีผลต่อมนุษย์โดยตรง นอกจากนี้ยังต้องผลิตง่าย ต้นทุนต่ำ มีความคงทนในการผลิตและในการเก็บรักษา เก็บไว้ได้นาน กลายพันธุ์ยาก มีความสามารถในการแพร่กระจายสูง และมีระยะฟักตัวสั้น ทนต่อสภาพแวดล้อม ใช้ปริมาณน้อยแต่มีพิษร้ายแรง นอกจากนี้ต้องมีคุณสมบัติเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง เช่น โรคแอนแทรกซ์ ถ้าเข้าสู่ร่างกายทางเดินหายใจก็จะทำให้เกิดโรคที่ปอด แต่ถ้าเข้าทางผิวหนังก็จะเกิดอาการทางผิวหนัง ถ้าเข้าทางเดินอาหารก็จะเกิดอาการในกระเพาะอาหารและลำไส้ เชื้อโรคที่ใช้เป็นอาวุธชีวภาพ เช่น โรคแอนแทรกซ์ หรือโรคกาลี ไข้ทรพิษ ไทฟอยด์ กาฬโรค ไวรัสไข้เลือดออก โรคทูลารีเมีย ฯลฯ สารพิษที่ใช้เป็นอาวุธชีวภาพ เช่น สารพิษบอทลึซึม

                        คำตอบคือ ต้องทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและมีผลกระทบต่อมนุษย์ หรือมีผลต่อมนุษย์โดยตรง นอกจากนี้ยังต้องผลิตง่าย ต้นทุนต่ำ มีความคงทนในการผลิตและในการเก็บรักษา เก็บไว้ได้นาน กลายพันธุ์ยาก มีความสามารถในการแพร่กระจายสูง และมีระยะฟักตัวสั้น ทนต่อสภาพแวดล้อม ใช้ปริมาณน้อยแต่มีพิษร้ายแรง นอกจากนี้ต้องมีคุณสมบัติเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง เช่น โรคแอนแทรกซ์ ถ้าเข้าสู่ร่างกายทางเดินหายใจก็จะทำให้เกิดโรคที่ปอด แต่ถ้าเข้าทางผิวหนังก็จะเกิดอาการทางผิวหนัง ถ้าเข้าทางเดินอาหารก็จะเกิดอาการในกระเพาะอาหารและลำไส้ เชื้อโรคที่ใช้เป็นอาวุธชีวภาพ เช่น โรคแอนแทรกซ์ หรือโรคกาลี ไข้ทรพิษ ไทฟอยด์ กาฬโรค ไวรัสไข้เลือดออก โรคทูลารีเมีย ฯลฯ สารพิษที่ใช้เป็นอาวุธชีวภาพ เช่น สารพิษบอทลึซึม

    จุลินทรีย์ที่จะใช้เป็นอาวุธชีวภาพควรมีลักษณะอย่างไร ?

                        คำตอบคือ ต้องทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและมีผลกระทบต่อมนุษย์ หรือมีผลต่อมนุษย์โดยตรง นอกจากนี้ยังต้องผลิตง่าย ต้นทุนต่ำ มีความคงทนในการผลิตและในการเก็บรักษา เก็บไว้ได้นาน กลายพันธุ์ยาก มีความสามารถในการแพร่กระจายสูง และมีระยะฟักตัวสั้น ทนต่อสภาพแวดล้อม ใช้ปริมาณน้อยแต่มีพิษร้ายแรง นอกจากนี้ต้องมีคุณสมบัติเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง เช่น โรคแอนแทรกซ์ ถ้าเข้าสู่ร่างกายทางเดินหายใจก็จะทำให้เกิดโรคที่ปอด แต่ถ้าเข้าทางผิวหนังก็จะเกิดอาการทางผิวหนัง ถ้าเข้าทางเดินอาหารก็จะเกิดอาการในกระเพาะอาหารและลำไส้ เชื้อโรคที่ใช้เป็นอาวุธชีวภาพ เช่น โรคแอนแทรกซ์ หรือโรคกาลี ไข้ทรพิษ ไทฟอยด์ กาฬโรค ไวรัสไข้เลือดออก โรคทูลารีเมีย ฯลฯ สารพิษที่ใช้เป็นอาวุธชีวภาพ เช่น สารพิษบอทลึซึม

    คำตอบคือ ต้องทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและมีผลกระทบต่อมนุษย์ หรือมีผลต่อมนุษย์โดยตรง นอกจากนี้ยังต้องผลิตง่าย ต้นทุนต่ำ มีความคงทนในการผลิตและในการเก็บรักษา เก็บไว้ได้นาน กลายพันธุ์ยาก มีความสามารถในการแพร่กระจายสูง และมีระยะฟักตัวสั้น ทนต่อสภาพแวดล้อม ใช้ปริมาณน้อยแต่มีพิษร้ายแรง นอกจากนี้ต้องมีคุณสมบัติเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง เช่น โรคแอนแทรกซ์ ถ้าเข้าสู่ร่างกายทางเดินหายใจก็จะทำให้เกิดโรคที่ปอด แต่ถ้าเข้าทางผิวหนังก็จะเกิดอาการทางผิวหนัง ถ้าเข้าทางเดินอาหารก็จะเกิดอาการในกระเพาะอาหารและลำไส้ เชื้อโรคที่ใช้เป็นอาวุธชีวภาพ เช่น โรคแอนแทรกซ์ หรือโรคกาลี ไข้ทรพิษ ไทฟอยด์ กาฬโรค ไวรัสไข้เลือดออก โรคทูลารีเมีย ฯลฯ สารพิษที่ใช้เป็นอาวุธชีวภาพ เช่น สารพิษบอทลึซึม

    อาวุธชีวภาพไม่ใช่อาวุธใหม่ มีการใช้อาวุธชนิดนี้มาเป็นเวลานานในประวัติศาสตร์ โดยเรียบเรียงได้ดังนี้

    มีการใช้อาวุธชนิดนี้มาเป็นเวลานานในประวัติศาสตร์ โดยเรียบเรียงได้ดังนี้

    600 ปีก่อนคริสต์ศักราช
    ชาวอาซีเรียน (Assyrians) ได้วางยาศัตรูในน้ำดื่มด้วยสาร rye ergot, และมีการใช้สมุนไพรพิษในการปิดล้อมที่กิซา (Krissa) 
    คศ 1346 มีการระบาดของกาฬโรคในกองทัพของพวกตาต้า (Tartar) ในการสู้รบที่คัฟฟา (Kaffa) ปัจจุบันคือ เมืองฟิโอโดเซีย (Feodosia) ในไครเมีย (Crimea) การระบาดของกาฬโรคทำให้ต้องทิ้งเมืองและหนีไปยังประเทศในแถบยุโรปทางเรือ นี่เป็นสาเหตุอันหนึ่งที่เชื่อว่าเป็นการนำกาฬโรคไปสู่ยุโรปและทำให้เกิดการระบาดครั้งยิ่งใหญ่และมีคนตายมากที่สุดในยุโรป (Black Death)

    ปีก่อนคริสต์ศักราช
    ชาวอาซีเรียน (Assyrians) ได้วางยาศัตรูในน้ำดื่มด้วยสาร rye ergot, และมีการใช้สมุนไพรพิษในการปิดล้อมที่กิซา (Krissa) 
    คศ 1346 มีการระบาดของกาฬโรคในกองทัพของพวกตาต้า (Tartar) ในการสู้รบที่คัฟฟา (Kaffa) ปัจจุบันคือ เมืองฟิโอโดเซีย (Feodosia) ในไครเมีย (Crimea) การระบาดของกาฬโรคทำให้ต้องทิ้งเมืองและหนีไปยังประเทศในแถบยุโรปทางเรือ นี่เป็นสาเหตุอันหนึ่งที่เชื่อว่าเป็นการนำกาฬโรคไปสู่ยุโรปและทำให้เกิดการระบาดครั้งยิ่งใหญ่และมีคนตายมากที่สุดในยุโรป (Black Death)

    คศ 1710
    กองทัพรัสเซียได้ใช้อาวุธเชื้อโรคชนิดเดียวกันในการสู้รบกับประเทศสวีเดน

    คริสต์ศตวรรษที่ 15 ฝรั่งเศสได้ใช้อาวุธเชือ้กาฬโรคในการสู้รบกับชาวพื้นเมืองอเมริกาใต้

    กองทัพรัสเซียได้ใช้อาวุธเชื้อโรคชนิดเดียวกันในการสู้รบกับประเทศสวีเดน
    คริสต์ศตวรรษที่ 15 ฝรั่งเศสได้ใช้อาวุธเชือ้กาฬโรคในการสู้รบกับชาวพื้นเมืองอเมริกาใต้

    คศ 1754 -1767 
    อังกฤษได้ใช้อาวุธเชื้อกาฬโรคในสงครามที่ทำระหว่างฝรั่งเศสกับ ชาวพื้นเมืองอินเดียน (French and Indian War) และได้ใช้กับชาวอเมริกันในการสู้รบเพื่ออิสรภาพในประเทศสหรัฐอเมริกา

    อังกฤษได้ใช้อาวุธเชื้อกาฬโรคในสงครามที่ทำระหว่างฝรั่งเศสกับ ชาวพื้นเมืองอินเดียน (French and Indian War) และได้ใช้กับชาวอเมริกันในการสู้รบเพื่ออิสรภาพในประเทศสหรัฐอเมริกา

    ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1
    เยอรมันได้เผยแพร่เชื้อฝีหนอง (Glanders) ในม้าและวัวของกองทัพสหรัฐอเมริกาก่อนที่จะมีการส่งสัตว์เหล่านั้นไปสงครามในยุโรป

    เยอรมันได้เผยแพร่เชื้อฝีหนอง (Glanders) ในม้าและวัวของกองทัพสหรัฐอเมริกาก่อนที่จะมีการส่งสัตว์เหล่านั้นไปสงครามในยุโรป

    คศ 1937
    ประเทศญี่ปุ่นได้เริ่มโครงการทดลองอาวุธชีวภาพในมนุษย์ที่ หน่วยปฏิบัติการ 731 (Unit 731) ตั้งอยู่ 40 ไมล์ไปทางตอนใต้ของเมืองฮาบิน (Harbin) ในแมนจูเรียของจีน โดยดำเนินการไปจนถึงปี คศ 1945 จึงถูกเผาทำลายไป

    ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง มีหลักฐานพบว่าญี่ปุ่นได้ทำการทดลองอาวุธชีวภาพในนักโทษ สงครามชาวจีนประมาณ 1000 คน โดยนักโทษส่วนใหญ่ได้เสียชีวิตจากโรคแอนแทร็กซ์ ที่แพร่กระจายจากทางเดินหายใจ (Aerosolized Anthrax) มีการคาดประมาณกันว่า มีผู้เสียชีวิตจากการทดลองนี้ 3000 คน ในช่วงเวลาเดียวกันมีรายงานการโรยหมัดหนูที่ติดเชื้อ กาฬโรคโดยเครื่องบินรบของญี่ปุ่นเหนือน่านฟ้าของจีนและแมนจูเรีย

    ประเทศญี่ปุ่นได้เริ่มโครงการทดลองอาวุธชีวภาพในมนุษย์ที่ หน่วยปฏิบัติการ 731 (Unit 731) ตั้งอยู่ 40 ไมล์ไปทางตอนใต้ของเมืองฮาบิน (Harbin) ในแมนจูเรียของจีน โดยดำเนินการไปจนถึงปี คศ 1945 จึงถูกเผาทำลายไป
    ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง มีหลักฐานพบว่าญี่ปุ่นได้ทำการทดลองอาวุธชีวภาพในนักโทษ สงครามชาวจีนประมาณ 1000 คน โดยนักโทษส่วนใหญ่ได้เสียชีวิตจากโรคแอนแทร็กซ์ ที่แพร่กระจายจากทางเดินหายใจ (Aerosolized Anthrax) มีการคาดประมาณกันว่า มีผู้เสียชีวิตจากการทดลองนี้ 3000 คน ในช่วงเวลาเดียวกันมีรายงานการโรยหมัดหนูที่ติดเชื้อ กาฬโรคโดยเครื่องบินรบของญี่ปุ่นเหนือน่านฟ้าของจีนและแมนจูเรีย

    คศ 1945
    โครงการอาวุธชีวภาพของญี่ปุ่น สามารถผลิตเชื้อแอนแทร็กซ์ (Anthrax) จำนวน 400 กิโลกรัม พร้อมที่จะบรรจุในลูกระเบิดชนิดแตกกระจาย

    โครงการอาวุธชีวภาพของญี่ปุ่น สามารถผลิตเชื้อแอนแทร็กซ์ (Anthrax) จำนวน 400 กิโลกรัม พร้อมที่จะบรรจุในลูกระเบิดชนิดแตกกระจาย

    คศ 1943
    สหรัฐอเมริกา ได้เริ่มจัดทำห้องปฏิบัติการและโครงการผลิตอาวุธชีวภาพเพื่อเป็นการ ต่อรองดุลอำนาจของเยอรมันและญี่ปุ่นในเวลานั้น โครงการนี้ไดัจัดตั้งที่แค็มป์ เดทริก (Camp Detrick) ปัจจุบันชื่อ ฟอร์ด เดทริก (Fort Detrick) ซึ่งในเวลานั้นเป็นฐานทัพอากาศขนาดเล็กและ มีการส่งผลผลิตไปยังจุดจัดเก็บต่างๆ จนกระทั่งปี คศ 1969 ประธานาธิบดี นิกสัน ได้สั่งยกเลิก โครงการอาวุธทางชีวภาพทั้งหมด

    สหรัฐอเมริกา ได้เริ่มจัดทำห้องปฏิบัติการและโครงการผลิตอาวุธชีวภาพเพื่อเป็นการ ต่อรองดุลอำนาจของเยอรมันและญี่ปุ่นในเวลานั้น โครงการนี้ไดัจัดตั้งที่แค็มป์ เดทริก (Camp Detrick) ปัจจุบันชื่อ ฟอร์ด เดทริก (Fort Detrick) ซึ่งในเวลานั้นเป็นฐานทัพอากาศขนาดเล็กและ มีการส่งผลผลิตไปยังจุดจัดเก็บต่างๆ จนกระทั่งปี คศ 1969 ประธานาธิบดี นิกสัน ได้สั่งยกเลิก โครงการอาวุธทางชีวภาพทั้งหมด

    คศ 1970 และหลังจากนั้น
    มีการโรยสารมีสีจากเฮลิคอปเตอร์และเครื่องบินเหนือ น่านฟ้าลาวและกัมพูชา และพบว่าผู้ที่สัมผัสกับสารเหล่านั้นรวมทั้งสัตว์มีอาการเจ็บป่วยและตาย โดยมีความเห็นว่าสารที่ใช้เป็น Trichlothecene toxins ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งจาก T2 mycotoxin สารพิษที่สกัดจากพืชและเห็ดพิษ

    มีการโรยสารมีสีจากเฮลิคอปเตอร์และเครื่องบินเหนือ น่านฟ้าลาวและกัมพูชา และพบว่าผู้ที่สัมผัสกับสารเหล่านั้นรวมทั้งสัตว์มีอาการเจ็บป่วยและตาย โดยมีความเห็นว่าสารที่ใช้เป็น Trichlothecene toxins ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งจาก T2 mycotoxin สารพิษที่สกัดจากพืชและเห็ดพิษ

    คศ 1971- 1972 
    ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ออกคำสั่งให้มีการทำลายอาวุธทางชีวภาพทั้งหมด โดยในกำกับของกระทรวงเกษตร,กระทรวงสาธารณสุข, มลรัฐอาแคนซัส, มลรัฐโคโรลาโด และมลรัฐแมรีแลนด์ อาวุธทางชีวภาพที่ถูกทำลายประกอบด้วย
    Bacillus anthracis, Botulinum toxin, Francisella tularensis, Coxiella burnetii, Venezuelan equine encephalitis virus, Brucella suis and Staphylococcal enterotoxin B. 
    ประเทศสหรัฐอเมริกาเริ่มให้ความรู้ทางการแพทย์เกี่ยวกับอาวุธทางชีวภาพตั้งแต่ ปีคศ 1953 จนปัจจุบันโดยหน่วยงาน USAMRIID

    ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ออกคำสั่งให้มีการทำลายอาวุธทางชีวภาพทั้งหมด โดยในกำกับของกระทรวงเกษตร,กระทรวงสาธารณสุข, มลรัฐอาแคนซัส, มลรัฐโคโรลาโด และมลรัฐแมรีแลนด์ อาวุธทางชีวภาพที่ถูกทำลายประกอบด้วย Bacillus anthracis, Botulinum toxin, Francisella tularensis, Coxiella burnetii, Venezuelan equine encephalitis virus, Brucella suis and Staphylococcal enterotoxin B. 
    ประเทศสหรัฐอเมริกาเริ่มให้ความรู้ทางการแพทย์เกี่ยวกับอาวุธทางชีวภาพตั้งแต่ ปีคศ 1953 จนปัจจุบันโดยหน่วยงาน USAMRIID

    คศ 1972
    สหรัฐอเมริกา, สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียต ได้จัดทำข้อตกลงเรื่องการห้ามสะสม, ห้ามการผลิต,และห้ามการเผยแพร่อาวุธชีวภาพ โดยมี 140 ประเทศทั่วโลกได้ลงสัตยาบรรณ ในเวลาต่อมา แต่กระนั้นก็ตามยังมีการแอบใช้อย่างจงใจในสงครามนอกรูปแบบต่างๆอีก เช่น กรณีฝนเหลือง (Yellow rain) ในสงครามเวียดนาม 

    สหรัฐอเมริกา, สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียต ได้จัดทำข้อตกลงเรื่องการห้ามสะสม, ห้ามการผลิต,และห้ามการเผยแพร่อาวุธชีวภาพ โดยมี 140 ประเทศทั่วโลกได้ลงสัตยาบรรณ ในเวลาต่อมา แต่กระนั้นก็ตามยังมีการแอบใช้อย่างจงใจในสงครามนอกรูปแบบต่างๆอีก เช่น กรณีฝนเหลือง (Yellow rain) ในสงครามเวียดนาม 

    คศ 1978
    มีการใช้สารไรซิน (Ricin) ในการฆาตกรรมเจ้าหน้าที่สถานีวิทยุชาวบัลกาเรียซึ่งลี้ภัย ในประเทศสหราชอาณาจักรโดยใช้ร่มที่มีลูกดอกอาบยาพิษแทงที่ต้นขา ผลจากการชัณสูตร หลักฐานจากร่มที่จับได้พบว่าเป็นสารพิษจำพวกไรซิน ซึ่งใช้ทำการโดยสายลับชาวบัลกาเรีย ที่ได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียตในขณะนั้น

    มีการใช้สารไรซิน (Ricin) ในการฆาตกรรมเจ้าหน้าที่สถานีวิทยุชาวบัลกาเรียซึ่งลี้ภัย ในประเทศสหราชอาณาจักรโดยใช้ร่มที่มีลูกดอกอาบยาพิษแทงที่ต้นขา ผลจากการชัณสูตร หลักฐานจากร่มที่จับได้พบว่าเป็นสารพิษจำพวกไรซิน ซึ่งใช้ทำการโดยสายลับชาวบัลกาเรีย ที่ได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียตในขณะนั้น

    คศ 1979
    มีการรั่วไหลของสปอร์ของเชื้อแอนแทร็กซ์ (Anthrax) ในเมือง Sverdlovsk ในสหภาพโซเวียตในขณะนั้น สถานที่เก็บอาวุธชีวภาพและห้องปฏิบัติการ ชื่อ Compound 19 ประชาชนที่อยู่ในละแวกใกล้เคียงมีอาการไข้สูง หายใจลำบากและเสียชีวิตในเวลาต่อมา รัฐบาลอ้างว่าสาเหตุของโรคมาจากการกินเนื้อวัวที่ติดเชื้อ แต่ทางสหรัฐอเมริกาได้ประเมิน สถานการณ์ว่ามาจากการรั่วไหลของอาวุธชีวภาพ

    มีการรั่วไหลของสปอร์ของเชื้อแอนแทร็กซ์ (Anthrax) ในเมือง Sverdlovsk ในสหภาพโซเวียตในขณะนั้น สถานที่เก็บอาวุธชีวภาพและห้องปฏิบัติการ ชื่อ Compound 19 ประชาชนที่อยู่ในละแวกใกล้เคียงมีอาการไข้สูง หายใจลำบากและเสียชีวิตในเวลาต่อมา รัฐบาลอ้างว่าสาเหตุของโรคมาจากการกินเนื้อวัวที่ติดเชื้อ แต่ทางสหรัฐอเมริกาได้ประเมิน สถานการณ์ว่ามาจากการรั่วไหลของอาวุธชีวภาพ

    คศ 1992
    สหรัฐอเมริกาได้รับการยืนยันจากประธานาธิบดีบอริส เยอซิน ของประเทศรัสเซียว่า เหตุการณ์ที่เกิดชึ้นมาจากการรั่วไหลของอาวุธชีวภาพ

    สหรัฐอเมริกาได้รับการยืนยันจากประธานาธิบดีบอริส เยอซิน ของประเทศรัสเซียว่า เหตุการณ์ที่เกิดชึ้นมาจากการรั่วไหลของอาวุธชีวภาพ

    คศ 1994
    มีการตีพิมพ์ข้อสรุปของการรั่วไหลของเชื้อแอนแทร็กซ์ในประเทศรัสเซียในนิตยสาร Science ฉบับที่ 266 ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดผลทำให้มีผู้เสียชีวิต 66 คนจากผู้ป่วย 77 คนที่อยู่ในรัศมี 4 ไมล์ใต้แนวทิศทางลมจากห้องปฏิบัติการ

    มีการตีพิมพ์ข้อสรุปของการรั่วไหลของเชื้อแอนแทร็กซ์ในประเทศรัสเซียในนิตยสาร Science ฉบับที่ 266 ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดผลทำให้มีผู้เสียชีวิต 66 คนจากผู้ป่วย 77 คนที่อยู่ในรัศมี 4 ไมล์ใต้แนวทิศทางลมจากห้องปฏิบัติการ

    คศ 1991
    สหประชาชาติพบหลักฐานการผลิตอาวุธชีวภาพในประเทศอิรักโดยพบว่าอิรัก ได้ผลิตและจัดเก็บ ระเบิดสังหารที่มีสาร botulinum toxin จำนวน 100 ลูก ระเบิดสาร Anthrax จำนวน 50 ลูก ระเบิดที่มีสาร alfatoxin 16 ลูก มีจรวด SCUD จำนวน 13 ลูกที่มีสาร botulinum toxin 10ลูกที่มีเชื้อ Anthrax และ 2 ลูกมี alfatoxin ซึ่งทั้งหมดถูกทำลายในเดือนมกราคม 1991

    สหประชาชาติพบหลักฐานการผลิตอาวุธชีวภาพในประเทศอิรักโดยพบว่าอิรัก ได้ผลิตและจัดเก็บ ระเบิดสังหารที่มีสาร botulinum toxin จำนวน 100 ลูก ระเบิดสาร Anthrax จำนวน 50 ลูก ระเบิดที่มีสาร alfatoxin 16 ลูก มีจรวด SCUD จำนวน 13 ลูกที่มีสาร botulinum toxin 10ลูกที่มีเชื้อ Anthrax และ 2 ลูกมี alfatoxin ซึ่งทั้งหมดถูกทำลายในเดือนมกราคม 1991

    คศ 1995
    สหประชาชาติได้พบว่าอิรักได้เตรียมการผลิตอาวุธชีวภาพประกอบด้วย Anthrax, botulinum toxins, Clostridium perfingens, alfatoxins, wheat cover smut และ Ricin. โดยมีการพบความพยายามในการทดลองในกระสุนปืนใหญ่ จรวดและถังสเปรย์

    โดยรวมแล้วพบว่าอิรักมี สาร botulinum toxin จำนวน 19,000 ลิตร สาร Anthrax 8,500 ลิตร และสาร alfatoxin 2,200 ลิตร
    ในสถานการณ์ปัจจุบันเชื่อว่าสารชีวภาพบางส่วนและนักวิทยาศาสตร์บางส่วนได้ผลิตอาวุธชีวภาพ ฝีดาษหรือ Smallpox ขึ้นมาได้โดยวิธีทางวิศวพันธุกรรมและถือว่าเป็นเชื้อโรคที่ร้ายแรง ตัวหนึ่งในประวัติศาสตร์ 

    สหประชาชาติได้พบว่าอิรักได้เตรียมการผลิตอาวุธชีวภาพประกอบด้วย Anthrax, botulinum toxins, Clostridium perfingens, alfatoxins, wheat cover smut และ Ricin. โดยมีการพบความพยายามในการทดลองในกระสุนปืนใหญ่ จรวดและถังสเปรย์
    โดยรวมแล้วพบว่าอิรักมี สาร botulinum toxin จำนวน 19,000 ลิตร สาร Anthrax 8,500 ลิตร และสาร alfatoxin 2,200 ลิตร
    ในสถานการณ์ปัจจุบันเชื่อว่าสารชีวภาพบางส่วนและนักวิทยาศาสตร์บางส่วนได้ผลิตอาวุธชีวภาพ ฝีดาษหรือ Smallpox ขึ้นมาได้โดยวิธีทางวิศวพันธุกรรมและถือว่าเป็นเชื้อโรคที่ร้ายแรง ตัวหนึ่งในประวัติศาสตร์ 

    การรบโดยใช้อาวุธชีวภาพ

    การรบโดยใช้อาวุธชีวภาพ จะทำได้ 3 วิธี ได้แก่ การปล่อยกระจายเป็นแอโรซอล (Aerosol Method) โดยการใช้สเปรย์ หรือวัตถุระเบิด ให้กระจายอยู่ในอากาศ เช่น ฝุ่น ละออง ควันหมอก คาดว่า การปล่อยกระจายวิธีนี้เป็นวิธีหลักที่จะถูกใช้มากที่สุด ส่วนการปล่อยกระจายไปกับสัตว์พาหะจะใช้วิธีการทำให้สัตว์ที่ดูดเลือดเป็นอาหารติดเชื้อ แล้วจึงปล่อยให้สัตว์เหล่านั้นเข้าไปในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อให้สัตว์ที่เป็นพาหะนำสารชีวะเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ เช่น ในยุง หมัด เห็บ เหา ไร โดยปัจจุบันมีโรคติดต่อร้ายแรงกว่า 100 ชนิด เช่น ไข้เหลือง กาฬโรค ไข้คิว ไข้เยื่อหุ้มสมองอักเสบ และไข้เลือดออก แต่วิธีการนี้เป็นวิธีรองๆลงไป

    และสุดท้ายเป็นการใช้วิธีการก่อวินาศกรรม หรือปล่อยกระจายโดยวิธีปกปิด แม้ว่าที่ผ่านมาจะยังไม่มีใครใช้อาวุธชีวภาพโดยเปิดเผย แต่เชื่อว่า การปล่อยกระจายสารอย่างลับๆ ในอากาศ น้ำ อาหาร หรืออื่นๆ เพื่อทำอันตรายมนุษย์ สัตว์ หรือพืชจะทำได้ง่ายกว่า และป้องกันได้ยาก เนื่องจากจะใช้สารชีวะในปริมาณน้อยมาก หากมีการนำสารดังกล่าวไปใช้ต้องมีการซุกซ่อนอย่างดี วิธีนี้เป็นวิธีที่เหมาะสำหรับสายลับ ผู้ก่อการร้าย และหน่วยรบพิเศษ เป็นวิธีเสริมการปล่อยกระจายด้วยวิธีหลัก เป้าหมายของการโจมตีด้วยอาวุธชีวภาพหลักๆ จะอยู่ที่ระบบทำความเย็นหรือทำความอุ่นของอาคาร ระบบประปาของเมืองหรือหน่วยงานราชการ โรงงาน กองบัญชาการ ฐานบิน ฐานทัพเรือ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ สถานีรถไฟฟ้า สถานีรถขนส่ง สนามกีฬา โรงมหรสพ อาคารศูนย์การค้า ไร่นา ฝูงปศุสัตว์และบ่อเลี้ยงปลา จุดประสงค์ คือ ผู้ใช้ต้องการทำให้ประชาชน สัตว์เลี้ยง หรือว่า พืชของฝ่ายตรงข้ามป่วยเป็นโรค จนอาจถึงตายได้ โดยการโจมตีมนุษย์เป็นการกระทำโดยตรงเพื่อลดอำนาจกำลังรบ ส่วนการโจมตีสัตว์เบี้ยงและพืชผลเป็นการกระทำทางอ้อมเพื่อต้องการลดขีดความสามารถในการทำสงคราม และยังทำให้เกิดอาการเสียขวัญ

    คุณสมบัติของเชื้อที่ดี

    มีต้นทุนต่ำ ทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี ระยะฟักตัวสั้น และตรวจสอบได้ยากในฝ่ายศัตรู มีความสามารถในการแพร่กระจายสูง มีความคงทนในการผลิต เก็บรักษาไว้ได้นานโดยไม่เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ และเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง และมีผลกระทบในเชิงจิตวิทยาได้ดี

    เชื้อดังกล่าวจะเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล ทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบเลือด และทางเดินหายใจ เมื่อรับเชื้อผู้ป่วยจะมีอาการเหมือนไข้หวัด มีน้ำมูกไหล หลังจากนั้นจะช๊อก หมดสติ และสียชีวิตในที่สุด การรักษาทำได้โดนใช้ยาปฏิชีวนะการป้องกันทำได้โดยฉีดวัคซีน

    1.การใช้เชื้อโรคแอนแทร็กซ์เป็นอาวุธ ทำได้โดยการนำเชื้อแอนแทร็กซ์ที่เพาะเลี้ยงไว้และเก็บในรูปสารละลายมาฉีกพ่นโดยเครื่องบิน หรือใช้ ทำเป็นหัวรบ ซึ่งญี่ปุ่นเคยใช้อาวุธเชื้อโรคแอนแทร็กซ์นี้กับชาวจียมาแล้วเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2

    2.เชื้อC.botulinum เป็นแบคทีเรียที่ทำให้เกิดสารพิษบอตทูลินั่ม ทำให้อาหารกระป็องเน่าเสีย อาหารเป็นพิษ เชื้อเพียงจุดเล็กๆก็สามารถทำลายชีวิตคนได้ถึง 10 คน โดยซึทเข้าทางเยื่อบุ ของร่างกาย อาหารเป็นพิษ เช่นเยื่อบุทางเดินหายใจ เป็นสารที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ผู้ที่ได้รับสารนี้เข้าไปจะไม่มีโอกาสรู้ตัวจนกว่าพิษจะเริ่มแสดงอาการ ผู้รับพิษจะมีอาการตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนแรงคลื่นใส้อาเจียนระบบประสาทจะถูกทำลายและผู้ป่วยจะเสียชีวิตในที่สุด

    2.เชื้อC.botulinum เป็นแบคทีเรียที่ทำให้เกิดสารพิษบอตทูลินั่ม ทำให้อาหารกระป็องเน่าเสีย อาหารเป็นพิษ เชื้อเพียงจุดเล็กๆก็สามารถทำลายชีวิตคนได้ถึง 10 คน โดยซึทเข้าทางเยื่อบุ ของร่างกาย อาหารเป็นพิษ เช่นเยื่อบุทางเดินหายใจ เป็นสารที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ผู้ที่ได้รับสารนี้เข้าไปจะไม่มีโอกาสรู้ตัวจนกว่าพิษจะเริ่มแสดงอาการ ผู้รับพิษจะมีอาการตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนแรงคลื่นใส้อาเจียนระบบประสาทจะถูกทำลายและผู้ป่วยจะเสียชีวิตในที่สุด

    การใช้เชื้อโรคแอนแทร็กซ์เป็นอาวุธ ทำได้โดยการนำเชื้อแอนแทร็กซ์ที่เพาะเลี้ยงไว้และเก็บในรูปสารละลายมาฉีกพ่นโดยเครื่องบิน หรือใช้ ทำเป็นหัวรบ ซึ่งญี่ปุ่นเคยใช้อาวุธเชื้อโรคแอนแทร็กซ์นี้กับชาวจียมาแล้วเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2

    2.เชื้อC.botulinum เป็นแบคทีเรียที่ทำให้เกิดสารพิษบอตทูลินั่ม ทำให้อาหารกระป็องเน่าเสีย อาหารเป็นพิษ เชื้อเพียงจุดเล็กๆก็สามารถทำลายชีวิตคนได้ถึง 10 คน โดยซึทเข้าทางเยื่อบุ ของร่างกาย อาหารเป็นพิษ เช่นเยื่อบุทางเดินหายใจ เป็นสารที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ผู้ที่ได้รับสารนี้เข้าไปจะไม่มีโอกาสรู้ตัวจนกว่าพิษจะเริ่มแสดงอาการ ผู้รับพิษจะมีอาการตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนแรงคลื่นใส้อาเจียนระบบประสาทจะถูกทำลายและผู้ป่วยจะเสียชีวิตในที่สุด

    เชื้อC.botulinum เป็นแบคทีเรียที่ทำให้เกิดสารพิษบอตทูลินั่ม ทำให้อาหารกระป็องเน่าเสีย อาหารเป็นพิษ เชื้อเพียงจุดเล็กๆก็สามารถทำลายชีวิตคนได้ถึง 10 คน โดยซึทเข้าทางเยื่อบุ ของร่างกาย อาหารเป็นพิษ เช่นเยื่อบุทางเดินหายใจ เป็นสารที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ผู้ที่ได้รับสารนี้เข้าไปจะไม่มีโอกาสรู้ตัวจนกว่าพิษจะเริ่มแสดงอาการ ผู้รับพิษจะมีอาการตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนแรงคลื่นใส้อาเจียนระบบประสาทจะถูกทำลายและผู้ป่วยจะเสียชีวิตในที่สุด

    การแก้พิษป้องกันได้ โดยการฉีดวัคซีน หรือใส่หน้ากากป้องกันก๊าซพิษ แต่เนื่องจากพิษของเชื้อโรคดังกล่าวยังสามารถแยกย่อยได้อีก ดังนั้นการป้องกันจึงทำได้ยาก หากไม่ทราบว่าศัตรูจะแพร่พิษ BOTULINUM ชนิดใด ขณะนี้ยังไม่มีรายงานว่าถูกใช้ในสงครามมาก่อน แต่มีรายงานว่าอิรัก อิหร่าน ซีเลีย ลิเบีย และเกาหลีเหนือมีอาวุธชีวภาพชนิดนี้อยู่ในครอบครองและพร้อมจะใช้งาน

    3.เชื้อ Clostridium perfringens เป็นแบคทีเรียอีกชนิดหนึ่งที่ทำให้อาหารเน่าเสียและเกิดอาหารเป็นพิษได้ หากแบคทีเรียชนิดนี้เข้าไปอยู่ในบาดแผลที่สกปรกและอากาศเข้าไม่ถึง จะทำให้เกิดก๊าซในบาดแผล เมื่อครั้งที่องคืการสหประชาชาติเข้าทำลายหล่งอาวุธชีวภาพที่เมืองอัลฮากัม ไกล้กรุงแบกแดกในปี 1996 ได้พบคลังเก็บเชื้อดังกล่าวนี้ด้วย

    เชื้อ Clostridium perfringens เป็นแบคทีเรียอีกชนิดหนึ่งที่ทำให้อาหารเน่าเสียและเกิดอาหารเป็นพิษได้ หากแบคทีเรียชนิดนี้เข้าไปอยู่ในบาดแผลที่สกปรกและอากาศเข้าไม่ถึง จะทำให้เกิดก๊าซในบาดแผล เมื่อครั้งที่องคืการสหประชาชาติเข้าทำลายหล่งอาวุธชีวภาพที่เมืองอัลฮากัม ไกล้กรุงแบกแดกในปี 1996 ได้พบคลังเก็บเชื้อดังกล่าวนี้ด้วย

    แม้จะมีข้อมูลเกี่ยวกับเชื้อโรคนี้ไม่มากนัก แต่สันนิษฐานว่าอิรัก น่าจะใช้วิธีการสกัดพิษจากแบคทีเรียแล้วทำไปทำอาวุธชีวภาพโดยการใช้งานน่าจะคล้ายกับ C.botulinum

    4.Pasteurella pestis P.pestisทำให้เกิดกาฬโรค ติดต่อได้เร็วมาก ทำให้ผู้ปวยเป็นปอดบวม มี-ไข้สูงอาเจียน และตายในที่สุด

    4.Pasteurella pestis P.pestisทำให้เกิดกาฬโรค ติดต่อได้เร็วมาก ทำให้ผู้ปวยเป็นปอดบวม มี-ไข้สูงอาเจียน และตายในที่สุด

    4.Pasteurella pestis P.pestisทำให้เกิดกาฬโรค ติดต่อได้เร็วมาก ทำให้ผู้ปวยเป็นปอดบวม มี-ไข้สูงอาเจียน และตายในที่สุด

    5.P.tularensis P.tularensis ทำให้เกิดโรค tularemia โดยผู้ป่วยจะไม่ตาย แต่จะทำให้สูญเสียน้ำหนักตัว ปวดศรีะษะ ปวดตามร่างกาย และปอดบวม

    ทำให้เกิดโรค tularemia โดยผู้ป่วยจะไม่ตาย แต่จะทำให้สูญเสียน้ำหนักตัว ปวดศรีะษะ ปวดตามร่างกาย และปอดบวม

    6.เชื้อรา A.flavus เป็นเชื้อราที่มีอยูในธรรมชาติ ชอบขึ้นบนสินค้าเกษตรที่เก็บรักษาไม่ดีส่วนใหญ่อยู่ในถั่ว ข้าวโพด พริกป่น สามารถผลิตสารพิษอะฟลาท็อกซิน เป็นสารที่ก่อมะเร็งในดับ ยังไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้สารพิษชนิดนี้เป็นอาวุธชีวภาพมากนัก เนื่องจากสารดังกล่าว คือสารก่อมะเร็งในระยะยาว ดังนั้นจึงไม่ใช่อาวุธที่ให้ผลฉับพลัน แต่เป็นการสังหารแบบตายผ่อนส่งมากกว่า เคยมีรายงานว่า พบสารพิษชนิดนี้ถูกบรรจุในระเบิดและหัวรบในแหล่งผลิตอาวุธชีวภาพของอิรัก

    เชื้อรา A.flavus เป็นเชื้อราที่มีอยูในธรรมชาติ ชอบขึ้นบนสินค้าเกษตรที่เก็บรักษาไม่ดีส่วนใหญ่อยู่ในถั่ว ข้าวโพด พริกป่น สามารถผลิตสารพิษอะฟลาท็อกซิน เป็นสารที่ก่อมะเร็งในดับ ยังไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้สารพิษชนิดนี้เป็นอาวุธชีวภาพมากนัก เนื่องจากสารดังกล่าว คือสารก่อมะเร็งในระยะยาว ดังนั้นจึงไม่ใช่อาวุธที่ให้ผลฉับพลัน แต่เป็นการสังหารแบบตายผ่อนส่งมากกว่า เคยมีรายงานว่า พบสารพิษชนิดนี้ถูกบรรจุในระเบิดและหัวรบในแหล่งผลิตอาวุธชีวภาพของอิรัก

    7.เชื้อไวรัส (Virus) Ebola เป็นสาเหตุของ Ebola hemorrhagic fever ( EHF) เกิดจากเชื้อไวรัสที่เป็นอันตรายมาก

    เชื้อไวรัส (Virus) Ebola เป็นสาเหตุของ Ebola hemorrhagic fever ( EHF) เกิดจากเชื้อไวรัสที่เป็นอันตรายมาก

    ทำให้เกิดการตกเลือดจากช่องทวารต่างๆ ไม่มียารักษาเป็นโรคที่รุนแรงมากในแอฟริกา มีการระเบิดมากในประเทศอูกันดา แต่การระบาดได้สิ่นสุดลงแล้ว ในการระบาดที่ผ่านมามีกรณีเกิดขึ้น 1,500 กรณี และเสียชีวิตมากกว่า 1,000 กรณี

    ตั้งแต่พบว่ามีการระบาดเกิดขึ้น

    8.Marburg disease เป็น viral hemorrhagic fever เช่น อีโบล่า มีอาการคล้ายกัน ทำให้มีไข้สูง ตกเลือด ผิวหนังเป็นผื่น อาเจียน และเสียชีวิต เป็นโรคที่ถ่ายทอดถึงมนุษย์ ได้จากลิงสีเขียวจากแอฟริกาที่นำมาใช้เป็นสัตว์ทดลอง

    เป็น viral hemorrhagic fever เช่น อีโบล่า มีอาการคล้ายกัน ทำให้มีไข้สูง ตกเลือด ผิวหนังเป็นผื่น อาเจียน และเสียชีวิต เป็นโรคที่ถ่ายทอดถึงมนุษย์ ได้จากลิงสีเขียวจากแอฟริกาที่นำมาใช้เป็นสัตว์ทดลอง

    9.Small pox virus หรือโรคไข้ทรพิษ ถูกจำกัดไปจากธรรมชาติแล้วตั้งแต่ปี ค..1980 ทั่วโลกได้หยุดการฉีดวัคซีนไข้ทรพิษ แต่ยังคงมีสองประเทศที่เก็บเชื้อ smallpox ไว้ในห้องปฎิบัติการ คือ อเมริกา และรัสเซีย แต่รัสเซียเริ่มมีปัญหาเนื่องจากปัญหาด้สนเศรษฐกิจ ทำให้เป็นแหล่งอันตรายเพราะหากผู้ที่ไม่เคยฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้ได้รับเชื้อ ก็จะทำให้เสียชีวิต 20-30 % เนื่องจากไม่มียารักษา

    หรือโรคไข้ทรพิษ ถูกจำกัดไปจากธรรมชาติแล้วตั้งแต่ปี ค..1980 ทั่วโลกได้หยุดการฉีดวัคซีนไข้ทรพิษ แต่ยังคงมีสองประเทศที่เก็บเชื้อ smallpox ไว้ในห้องปฎิบัติการ คือ อเมริกา และรัสเซีย แต่รัสเซียเริ่มมีปัญหาเนื่องจากปัญหาด้สนเศรษฐกิจ ทำให้เป็นแหล่งอันตรายเพราะหากผู้ที่ไม่เคยฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้ได้รับเชื้อ ก็จะทำให้เสียชีวิต 20-30 % เนื่องจากไม่มียารักษา

    10.สารพิษ (toxin) สารพิษไรซิน สกัดจากเมล็ดละหุ่ง ใช้เป็นยาปราบศัตรูพืช สารดังกล่าวจะไปยับยั้งการผลิตโปรตีนของเซลล์ในร่างกาย ผู่ทีได้รับพิษจะเสียชีวิตเนื่องจากร่างกายไม่สามารถสร้างโปรตีนที่จำเป็นในการดำรงชีวิตได้

    สารพิษ (toxin) สารพิษไรซิน สกัดจากเมล็ดละหุ่ง ใช้เป็นยาปราบศัตรูพืช สารดังกล่าวจะไปยับยั้งการผลิตโปรตีนของเซลล์ในร่างกาย ผู่ทีได้รับพิษจะเสียชีวิตเนื่องจากร่างกายไม่สามารถสร้างโปรตีนที่จำเป็นในการดำรงชีวิตได้

    ทั้งนี้โรคที่มีศักยภาพในการใช้เป็นอาวุธชีวะ ซึ่งเป็นโรคติดต่อระหว่างสัตว์และมนุษย์แบ่งได้ 8 ประเภท คือ โรคแอนแทรกซ์,แท้งติดต่อ, กาฬโรค, ไข้รากสาดใหญ่, ไข้ผื่น, ไข้คิด, โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ, ไข้เหลือง ส่วนโรคของสัตว์ที่ใช้เป็นอาวุธชีวะทำลายสัตว์ได้มี 5 ประเภท คือ อหิวาห์สุกร, อหิวาห์สุกรแอฟริกา, โรคปากและเท้าเปื่อย, โรคนิวคาสเซิล และโรครินเดอร์เปสท์

    ท่าทีอาเซียนในอนุสัญญาห้ามชีวภาพ ยังกล้าๆ กลัว

    ท่าทีอาเซียนในอนุสัญญาห้ามชีวภาพ ยังกล้าๆ กลัว

    ท่าทีอาเซียนในอนุสัญญาห้ามชีวภาพ ยังกล้าๆ กลัว

    อาวุธชีวภาพ หรืออาวุธเชื้อโรค คือ อาวุธที่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต หรือฮอร์โมนหรือสารอื่นใดที่สิงมีชีวิตผลิตขึ้นมา หรือพูดง่ายๆ ก็คือ เป็นสารพิษที่สกัดจากสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์และจุลินทรีย์นั่นเอง มนุษย์รู้จักผลิตอาวุธชีวภาพนี้ได้ด้วยการเลียนแบบโรคระบาด ซึ่งความเสียหายและความรุนแรงที่เกิดขึ้นจากการใช้อาวุธประเภทนี้ ไม่ได้ด้อยกว่าระเบิดปรมาณูลูกย่อยๆเลย

    และด้วยความรุนแรงดังกล่าวนี้เอง จึงทำให้ทั่วโลกตระหนักถึงมหันตรายจากอาวุธเชื้อโรค และนำมาซึ่งอนุสัญญาฉบับนี้

    อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ (Biological Wepons Convention-BWC) หรืออนุสัญญาว่าด้วย การห้ามพัฒนา ผลิตและสะสมอาวุธบัคเตรี (ชีวะ) และอาวุธทอกซิน และว่าด้วยการทำลายอาวุธเหล่านี้-Convention on the Prohibition of the Development, Production and Stockpiling of Bacteriological and Toxin Wepons and on Their Destruction เป็นหนึ่งในความตกลงพหุภาคด้านลดอาวุธที่สะท้อนให้ถึงความพยายามของประชาคมโลกในการป้องกันไม่ให้มีการแพร่ขยายอาวุธที่มีอำนาจทำลายล้างสูง คือ อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธเคมี และอาวุธชีวภาพ

    อนุสัญญาดังกล่าวนี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2518 (..1975) และปัจจุบันมีประเทศต่างๆเข้าร่วมเป็นภาคอนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพจำนวน 144 ประเทศ โดยประเทศไทยเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาฯโดยเข้าเป็นภาคอนุสัญญาเป็นลำดับที่ 38 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2518 แต่ยังไม่ให้สัตยาบัน และขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการให้สัตยาบันตามรัฐธรรมนูญไทย

    ทั้งนี้ อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ ยังมีจุดอ่อนในประเด็นที่ ยังไม่มีการแจ้ง(declaration)และมาตรฐานตรวจสอบพิสูจน์ยืนยัน ทำให้เกิดความคลุมเครือและข้อสงสัยในการปฎิบัติตามอนุสัญญา ซึ่งอาจมีผลต่อความร่วมมือระหว่างประเทศในการนำแบคทีเรียและสารชีวภาพไปใช้ในทางสันติ ประเทศภาคจึงต้องการเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้อนุสัญญาฯโดยวิธีกำหนดมาตรการพิสูจน์ยืนยันอาวุธชีวภาพในปี 1991 หรือพศ. 2534 โดยในที่ประชุมทบทวนอนุสัญญาฯครั้งที่ 3 ได้แต่งตั้งคณะกรรมการทำงานเฉพาะกิจแบบปลายเปิด (Open-Ended Ad Hoc Group) ของผู้เชี่ยวชาญรัฐภาค ศึกษาความเป็นไปได้ของมาตรการพิสูจน์ยืนยัน (Verification measures) การใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตรวจพิสูจน์ยืนยัน

    ซึ่งเรียกว่า VEREX Group เพื่อกำหนดแนวทางและเค้าโครงของมาตรการพิสูจน์ยืนยันด้านวิทยาศาสตร์และวิชาการ

    ในปีค..1994 (2537) ที่ประชุมประเทศภาคสมัยพิเศษได้แต่งตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจ (AdGroup-AHG) ของประเทศภาคีอนุสัญญาขึ้นเพื่อพิจารณากำหนดมาตรการพิสูจน์ยืนยันที่เหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้มีการพัฒนา ผลิต สะสมอาวุธชีวภาพ โดยมาตรการดังกล่าวจะมีลักษณะเป็นพิธีสาร (Protocal) แนบท้ายอนุสัญญาฯ โดยกำหนดกรอบเวลาการเจรจาจัดทำร่างพิธีสารแล้วเสร็จ ก่อนการประชุมทบทวนอนุสัญญาครั้งที่ 5 ในวันที่ 19 พฤศจิกายน-7 ธันวาคม พ..2544 นี้

    ทั้งนี้ที่ประชุม AHC ได้เริ่มเจรจาเพื่อดำเนินการตามอาณัติที่ได้รับมอบหมายตั้งแต่ปี ค.. 1995(2538)-ปัจจุบัน โดยมีการประชุมทั้งสิ้น 21ครั้ง และลาสุดเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน-8 ธันวาคม 2543 ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งมีประเด็นสำคัญในการเจรจาจัดทำพิธีร่างสาร 7 ข้อคือ

    1.การให้คำนิยามและคำจำกัดความต่างๆกำหนดเกณฑ์การปฎิบัติตามวัตถุประสงค์ของอนุสัญญา โดยกำหนดรายชื่อและคำจำกัดความของอาวุธชีวภาพ สารพิษ และเชื้อโรคคน โรคพืช และโรคสัตว์ต่างๆ

    การให้คำนิยามและคำจำกัดความต่างๆกำหนดเกณฑ์การปฎิบัติตามวัตถุประสงค์ของอนุสัญญา โดยกำหนดรายชื่อและคำจำกัดความของอาวุธชีวภาพ สารพิษ และเชื้อโรคคน โรคพืช และโรคสัตว์ต่างๆ

    2.มาตรการส่งเสริมปฎิบัติตามอนุสัญญา

    มาตรการส่งเสริมปฎิบัติตามอนุสัญญา

    3.ภาคผนวกว่าด้วยการตรวจสอบพิสูจน์ยืนยัน เพื่อควบคุมไม่ให้มีการพัฒนาผลิต และใช้อาวุะชวภาพและสารพิษ ตามคำจำกัดความและรายชื่อที่กำหนดไว้

    ภาคผนวกว่าด้วยการตรวจสอบพิสูจน์ยืนยัน เพื่อควบคุมไม่ให้มีการพัฒนาผลิต และใช้อาวุะชวภาพและสารพิษ ตามคำจำกัดความและรายชื่อที่กำหนดไว้

    4.มาตรการที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือและความช่วยเหลือทางวิชาการในการนำบัคเตรีและสารชีวภาพไปใช้ในทางสันติรวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนชีวภาพ

    มาตรการที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือและความช่วยเหลือทางวิชาการในการนำบัคเตรีและสารชีวภาพไปใช้ในทางสันติรวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนชีวภาพ

    5.ประเด็นด้านกฎหมาย เช่น การตั้งข้อสงวน การระงับข้อพิพา และการแก้ไขพิธีสาร

    ประเด็นด้านกฎหมาย เช่น การตั้งข้อสงวน การระงับข้อพิพา และการแก้ไขพิธีสาร

    6.มาตรการรักษาความลับ

    มาตรการรักษาความลับ

    7.การนำพิธีสารไปปฎิบัติในระดับนานาชาติและความช่วยเหลือด้านนี้

    การนำพิธีสารไปปฎิบัติในระดับนานาชาติและความช่วยเหลือด้านนี้

    สำหรับท่าทีของประเทศภาคีต่างๆต่อพิธีสารครั้งที่ 20 ที่ผ่านมา สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ

    1.กลุ่มตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริการ อังกฤษ เยอรมัน แอฟริกาใต้ และสวีเดน ซึ่งมีผลประโยชน์อยู่ที่การปกป้อง biotech-chemical-medical capabilities รวมทั้งความต้องการที่จะผลักดันมาตรการควบคุมประเทศกำลังพัฒนา มิให้อาศัยประโยชน์จาก duel use capabilities ของการทดลองเพาะเชื้อจุลินทรีย์หรือการสร้างห้องทดลอง หรืดดรงงานที่มีศักยภาพในการผลิตเชื้อจุลินทรีย์ หรือเชื้อโรคอื่นๆ เพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ ซึ่งขณะเดียวกันสามารถนำไปใช้ผลิตอาวุธชีวภาพ เพื่อประโยชน์ทางการทหารได้

    กลุ่มตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริการ อังกฤษ เยอรมัน แอฟริกาใต้ และสวีเดน ซึ่งมีผลประโยชน์อยู่ที่การปกป้อง biotech-chemical-medical capabilities รวมทั้งความต้องการที่จะผลักดันมาตรการควบคุมประเทศกำลังพัฒนา มิให้อาศัยประโยชน์จาก duel use capabilities ของการทดลองเพาะเชื้อจุลินทรีย์หรือการสร้างห้องทดลอง หรืดดรงงานที่มีศักยภาพในการผลิตเชื้อจุลินทรีย์ หรือเชื้อโรคอื่นๆ เพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ ซึ่งขณะเดียวกันสามารถนำไปใช้ผลิตอาวุธชีวภาพ เพื่อประโยชน์ทางการทหารได้

    2.กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา ได้แก่ จีน อินเดีย ปากีสถาน อิหร่าน ลิเบีย และคิวบา ซึ่งต้องการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของตนภายใต้อนุสัญญาฯและพิธีสาร ซึ่งสามารถเอื้อประโยชน์ต่อโครงการทดลองทางชีวภาพ การแลกเปลี่ยนเครื่องมืออุปกรณ์ ความรู้ทางวิชาการ และบุคคลากร ไม่ว่าจะโดยสถานนะของประเทศผู้ให้หรือประเทศผุ้รับประโยชน์ก็ตาม

    กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา ได้แก่ จีน อินเดีย ปากีสถาน อิหร่าน ลิเบีย และคิวบา ซึ่งต้องการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของตนภายใต้อนุสัญญาฯและพิธีสาร ซึ่งสามารถเอื้อประโยชน์ต่อโครงการทดลองทางชีวภาพ การแลกเปลี่ยนเครื่องมืออุปกรณ์ ความรู้ทางวิชาการ และบุคคลากร ไม่ว่าจะโดยสถานนะของประเทศผู้ให้หรือประเทศผุ้รับประโยชน์ก็ตาม

    3.กลุ่มประเทศที่มีท่าทีเปลี่ยนแปลงตามสถานการณื ได้แก่รัสเซีย ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ซึ่งประเทศทั้งสามมีผลประโยชน์ระหว่างการปกป้อง Biotech-chemical-medical industries รวมทั้งมีความต้องการที่จะพัฒนาและได้รับผลประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนเครื่องมืออุปกรณ์ ความรู้ทางวิชาการ บุคคลากร ไม่ว่าจะโดยสถานะของประเทศผุ้ให้ หรือผุ้รับประโยชน์ก็ตาม

    กลุ่มประเทศที่มีท่าทีเปลี่ยนแปลงตามสถานการณื ได้แก่รัสเซีย ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ซึ่งประเทศทั้งสามมีผลประโยชน์ระหว่างการปกป้อง Biotech-chemical-medical industries รวมทั้งมีความต้องการที่จะพัฒนาและได้รับผลประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนเครื่องมืออุปกรณ์ ความรู้ทางวิชาการ บุคคลากร ไม่ว่าจะโดยสถานะของประเทศผุ้ให้ หรือผุ้รับประโยชน์ก็ตาม

    สำหรับกลุ่มประเทศอาเซียนนั้น ไม่ได้มีท่าทีใดๆที่ชัดเจนในระหว่างการประชุมฯโดยคณะฑูตถาวรไทย ณ นครเจนีวา ผู้แทนประเทศมาเลเซีย อินโดซีเซีย ฟิลิปปินส์ และบรูไน ได้ร่วมเข้าประชุมฯและรวบรวมข้อมูลเพื่อนำไปใช้ในการกำหนดท่าทีต่อไป

    ในอนาคตข้างหน้า เรื่องราวของอาวุธชีวภาพก็มีความเคลื่อนไหวไปในทิศทางใดนั้น นับว่าเป็นเรื่องที่ยากเกินหยั่งรู้ เราคงบอกได้แต่เพียงว่า ตราบใดที่โลกยังมีสงคราม ยังคงครุกรุ่นไปด้วยความขัดแย้งทางความเชื่อและความคิด ตราบนั้นอาวุธต่างๆ รวมทั้งอาวุธชีวภาพก็จะยังไม่หมดไปจากโลก สงครามไม่ปรานีใคร อาวุธชีวภาพ และอาวุธอื่นๆ ทำงานอย่างซื่อตรงเสมอ มันเป็นเพียงเครื่องมือจากธรรมชาติที่ถูกมนุษย์ผู้กระหายชัยชนะหยิบมาใช้ห้ำหั่นซึ่งกันและกัน คู่สงครามอาจคิดว่าตัวเองชนะ อาจคิดว่าอีกฝ่ายพ่ายแพ้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว สงครามคือความย่อยยับ เป็นความย่อยยับที่มีมาเยือนทั้งสองฝ่าย อย่างเท่าเทียมกัน

    เมื่อใดที่โลกไร้สงครามอย่างแท้จริง เมื่อนั้นอาวุธต่างๆ คงไร้ความหมาย เรื่องราวของอาวุธชีวภาพอาจกลายเป็นเรื่องในตำนานที่ไม่มีใครอยากเอ่ยถึง วันเช่นนั้นจะมีโอกาสเกิดขึ้นได้บ้างไหม  คำตอบรอ-คอยเราอยู่ในอนาคตข้างหน้าเท่านั้น

    บรรณานุกรม http://www.thaiclinic.com/education/biowar.html

    บรรณานุกรม http://www.thaiclinic.com/education/biowar.html

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×