ลำดับตอนที่ #1
คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #1 : เวลา ยุคสมัยและกระบวนการทางประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเรื่องราวต่างๆ ในอดีตโดยมีความสัมพันธ์ก่อให้เกิดความง่ายต่อการทำความเข้าใจในเหตุการณ์ต่างๆ โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกำหนดในการศึกษาเรื่องราว
การนับเวลาแบบไทย แบ่งออกเป็น 4 แบบคือ
การนับเวลาและการเปรียบเทียบศักราช
ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ มักนิยมใช้การระบุช่วงเวลาเพื่อให้ทราบถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยจะแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การนับเวลาแบบไทย และการนับเวลาแบบสากล
การนับเวลาแบบไทย แบ่งออกเป็น 4 แบบคือ
1.พุทธศักราช(พ.ศ.)
โดยเริ่มนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ให้นับเป็นพุทธศักราชที่1เป็นการนับเวลาทางศักราชในกลุ่มผู้นับถือพระพุทธศาสนา
2. มหาศักราช(ม.ศ.)
2. มหาศักราช(ม.ศ.)
การนับศักราชนี้จะพบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้น
โดยคิดขึ้นจากกษัตริย์ของอินเดีย ซึ่งถือว่าปีมหาศักราชที่1 จะตรงกับปีพุทธศักราช 621
3.จุลศักราช ( จ.ศ.)
จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน แห่งอาณาจักรพุกาม เมื่อปีพุทธศักราช 1181
จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน แห่งอาณาจักรพุกาม เมื่อปีพุทธศักราช 1181
โดยไทยรับเอาวิธีการนับเวลานี้มาใช้ในสมัยอยุธยาเพื่อการคำนวณเลิกใช้ในรัชกาลที่5
4.รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.)
การนับเวลาแบบนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(ร.5) ทรงตั้งขึ้นในปีพุทธศักราช2432
ศักราชนี้ในทางราชการตั้งแต่วันที่1 เมษายน ร.ศ.108
(พ.ศ.2432)
(พ.ศ.2432)
เก็บเข้าคอลเล็กชัน
ความคิดเห็น