ลำดับตอนที่ #7
คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #7 : ความรู้เพิ่มเติม สัตวแพทย์ ม.มหานคร
ครับ บทความต่อเนื่องกันเลยในวันนี้ ตื่นมาอัพแต่เช้า บทความนี้ก็จะเขียนเกี่ยวกับข้อมูลของคณะในมุมต่างๆนะครับ ไม่รู้ว่าหลายๆคนจะเกิดคำถามรึป่าวว่า เข้ามาเรียนก็เรียนไป จะรู้ข้อมูลคณะทำไม ? อันนี้เป็นคำถามที่ดีนะครับ
ผมก็ต้องขอตอบและกันว่า บางทีเมื่อเราเข้ามาในองค์กรนะครับเนื่องจากเราต้องใช้ชีวิตในช่วงเวลาหนึ่งๆที่ยาวนานกับองค์กรของเรา หรือแม้เมื่อเราจบไปแล้ว เราไปทำงานเราก็ยังมีชื่อขององค์กรติดอยู่กับตัวเรา เป็นเครื่องมือหนึ่งที่เราใช้หากินในอนาคต การเรียนจะให้ได้ดี อ่านหนังสืออย่างเดียวคงไม่พอครับ ความภาคภูมิในในคณะ การรับรู้เรื่องราวของคณะ ว่าคณะของเรา องค์กรของเราก็มีข้อดีมากมายอาจจะต่างจากที่เราเห็นทุกวันๆก็ได้ จะทำให้เรามีความทะเยอทะยาน เพื่อจะพัฒนาตัวเรา และพัฒนาองค์กรคับ ถ้าเราตระหนักว่า องค์กรก็มีความสำคัญ ถ้าเราช่วยกันพัฒนาองค์กร องค์กรก็จะมีคุณค่าครับ หลายๆคนมาเรียนที่นี่ไม่เคยรับรู้ข้อมูลองค์กรเลย เรียนเพื่อตัวเอง หาผลประโยชน์จากองค์กร ไม่ได้นะครับ เราต้องตอบแทนองค์กรบ้างเท่าที่เราทำได้
วันนี้ผมไปค้นตู้หนังสือของพี่ครับ ไปเจอคู่มือการศึกษาตอนปี 2538 ก็เอามาเปิดอ่าน เพราะอยากรู้ว่าในช่วงนั้นกับช่วงนี้มันมีความแตกต่างกันรึป่าว รากฐานของมหานครเป็นอย่างไร ก็เลยเก็บข้อมูลที่มีมาให้อ่านกันคร่าวๆนะครับ ใครที่สนใจก็อ่านต่อ ใครที่หาว่าไร้สาระก็กดออกนะครับ ไม่ว่ากัน
http://www.mut.ac.th/pages/enrolment2550.html สำหรับเกณฑ์การรับสมัครในปีนี้ครับ
http://www.pr.mut.ac.th/entrance-and-curriculum/pages/welcome&curriculum.html อันนนี้เป็นรายละเอียดอื่นๆ
ก่อนอื่นก็จะเริ่มกับการรู้จักกับมหาวิทยาลัยก่อนนะครับ ข้อมูลต่างๆเหล่านี้ผมอ้างอิงจากเว็บมหาลัยนะครับ
รายชื่อกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ปี 2538
ศ.น.พ. ยงยุทธ สัจวาณิชย์ นายกสภามหาวิทยาลัย
นายยงศักดิ์ คณาธนะวนิชย์ อุปนายกสภามหาวิทยาลัย
ดร.กำแหง สถิรกุล กรรมการ
ศ.น.พ.เกษม วัฒนชัย กรรมการ
ผศ.ดร.ทวี เลิศปัญญาวิทย์ กรรมการ
นางสาวอรพินท์ คณาธนะวนิชย์ กรรมการ
นางสาวชฏารัตน์ อนันตกูล กรรมการ
นางสาวใจชนก อนันตกูล กรรมการ
ผศ.ดร.เลอเกียรติ วงศ์สารพิกูล กรรมการ
ดร.แดเนียล บรีน กรรมการ
รศ.ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม กรรมการ
อาจาย์นวลรัตน์ ผดุงกุล กรรมการ
อันนี้เป็นข้อมูลที่นำมาจาก คู่มือการศึกษาปี 2538 นะครับ ส่วนปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลเนื่องจากมหาลัยไม่เปิดเผย
ทำเนียบคณะบดี
คณบดีท่านแรก
รศ.น.สพ.ดร.ดำรง พฤษราช
การศึกษา
สพ.บ.(ม.เกษตร) Dip.(Large Animal Practics and Artificial Tnsemination ) Ph.D.(Microbiology)(TiHo Hannover)
การทำงาน
- อดีต นายสัตวแพทย์ประจำสถานีบำรุงพันธุ์สัตว์เชียงใหม่ กรมปศุสัตว์
- อดีต อาจาย์ประจำภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ได้รับปริญญาตรี สัตวแพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณบดีท่านที่สอง
ผศ.พ.อ.น.สพ.ดร.อุดม ทิพยมนตรี ( พ.ศ.2540-2543)
ประวัติการศึกษา สพ.บ.(จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
วท.ม.(สรีระวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
Ph.D.(Physiology) U.of Mississppi at Medical Center
อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาสรีระวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์ พระมงกุฏเกล้า
คณะบดีท่านที่สาม
รศ.พล.ต.น.สพ. ทวีศักดิ์ บูรณวุฒิ ( พ.ศ.2544-2547)
ประวัติการศึกษา สพ.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. สรีระวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
Fellowship in Gastroenterogy [UCSD]
อดีตผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาสรีระวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์ พระมงกุฏเกล้า
คณะบดีท่านที่ สี่
รศ.น.สพ.ดร.ไพบูลย์ ยุติศรี (พ.ศ.2548-2550)
ประวัติการศึกษา สพ.บ.(เกษตรศาสตร์)
M.P.H.[Master of Pulic Health U. of the Philippines]
Ph.D.[Veterinary science , Azabu U. Japan]
อดีตหัวหน้าภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณบดีท่านที่ห้า
รศ.น.สพ.ดร.จตุพร กระจายศรี (พ.ศ.2551- ปัจจุบัน)
ผมก็ต้องขอตอบและกันว่า บางทีเมื่อเราเข้ามาในองค์กรนะครับเนื่องจากเราต้องใช้ชีวิตในช่วงเวลาหนึ่งๆที่ยาวนานกับองค์กรของเรา หรือแม้เมื่อเราจบไปแล้ว เราไปทำงานเราก็ยังมีชื่อขององค์กรติดอยู่กับตัวเรา เป็นเครื่องมือหนึ่งที่เราใช้หากินในอนาคต การเรียนจะให้ได้ดี อ่านหนังสืออย่างเดียวคงไม่พอครับ ความภาคภูมิในในคณะ การรับรู้เรื่องราวของคณะ ว่าคณะของเรา องค์กรของเราก็มีข้อดีมากมายอาจจะต่างจากที่เราเห็นทุกวันๆก็ได้ จะทำให้เรามีความทะเยอทะยาน เพื่อจะพัฒนาตัวเรา และพัฒนาองค์กรคับ ถ้าเราตระหนักว่า องค์กรก็มีความสำคัญ ถ้าเราช่วยกันพัฒนาองค์กร องค์กรก็จะมีคุณค่าครับ หลายๆคนมาเรียนที่นี่ไม่เคยรับรู้ข้อมูลองค์กรเลย เรียนเพื่อตัวเอง หาผลประโยชน์จากองค์กร ไม่ได้นะครับ เราต้องตอบแทนองค์กรบ้างเท่าที่เราทำได้
วันนี้ผมไปค้นตู้หนังสือของพี่ครับ ไปเจอคู่มือการศึกษาตอนปี 2538 ก็เอามาเปิดอ่าน เพราะอยากรู้ว่าในช่วงนั้นกับช่วงนี้มันมีความแตกต่างกันรึป่าว รากฐานของมหานครเป็นอย่างไร ก็เลยเก็บข้อมูลที่มีมาให้อ่านกันคร่าวๆนะครับ ใครที่สนใจก็อ่านต่อ ใครที่หาว่าไร้สาระก็กดออกนะครับ ไม่ว่ากัน
http://www.mut.ac.th/pages/enrolment2550.html สำหรับเกณฑ์การรับสมัครในปีนี้ครับ
http://www.pr.mut.ac.th/entrance-and-curriculum/pages/welcome&curriculum.html อันนนี้เป็นรายละเอียดอื่นๆ
ก่อนอื่นก็จะเริ่มกับการรู้จักกับมหาวิทยาลัยก่อนนะครับ ข้อมูลต่างๆเหล่านี้ผมอ้างอิงจากเว็บมหาลัยนะครับ
ประวัติมหาวิทยาลัย |
"มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร" (มทม.) หรือ"Mahanakorn University of Technology" (MUT)ได้รับอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้จัดตั้งขึ้นในนามของ "วิทยาลัยมหานคร" เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ๒๕๓๓ บนเนื้อที่ 56 ไร่ติดกับ แนวถนนเชื่อมสัมพันธ์ เขต หนองจอก กรุงเทพ มหานคร โดยระยะแรก เปิดดำ เนินการสอนเพียงหนึ่ง คณะวิชา คือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ความดำริในการจัดตั้ง "มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร" เป็นผลสืบเนื่องจากแนวความคิดพื้นฐาน 2 ประการ คือ |
1. การขาดแคลนบุคลากรการขาดแคลนบุคลากรผู้ที่มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยเฉพาะ อย่างยิ่งวิศวกรซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศซึ่งดำเนินไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน การขาดแคลนวิศวกร มีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงขึ้นในอนาคตซึ่งเป็นสภาวะที่สถาบันอุดมศึกษาของรัฐบาลไม่สามารถผลิตวิศวกรเพื่อสนองความต้องการได้ |
2. ความต้องการที่จะผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถที่เต็มศักยภาพ ศักยภาพเพื่อประโยชน์แก่ตนเองและประเทศชาติความรู้ ความสามารถดังกล่าวจะสามารถสั่งสมจากการศึกษาและการฝึกปฏิบัติให้มีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิทยากรสมัยใหม่ตลอดจน มีความรู้และทักษะด้านปฏิบัติการจากการฝึกหัดการทดลองและการแก้ปํญหาในสถานะการที่เป็นจริง |
นับแต่เริ่มดำเนินการสอนเป็นต้นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครได้ขยายการเรียนการสอนไปในสาขาวิชาต่างๆเพิ่มขึ้น มาโดยตามลำดับโดยมุ่งเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการและการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพปัจจุบันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร เปิดดำเนินการสอนคณะวิศวกรรมศาสตร์ ระดับปริญญาเอก ปริญญาโท และปริญญาตรี คณะสัตวแพทยศาสตร์และคณะบริหารธุรกิจ ระดับปริญญาโทและปริญญาตรีโดยในอนาคตจะขยายการเรียนการสอนไปในสาขาอื่นๆที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประ เทศชาติต่อไป |
การรับรอง |
หลักสูตรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาถาวรจากทบวงมหาวิทยาลัยและสำนักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)ให้การรับรองคุณวุฒิปริญญาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยฯ |
ปณิธาน |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครมุ่งเน้นการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถ เป็นเลิศในประเทศไทย |
วัตถุประสงค์ |
1. เพื่อเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มุ่งสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีศักยภาพประสิทธิภาพ เพียงพอที่จะพึ่งตนเองได้ พร้อมทั้งมีจริยธรรมและจรรยาบรรณที่รู้จักสร้างสรรค์สิ่งที่เป็น ประโยชน์ต่อสังคม 2. เพื่อพัฒนาความรู้ทางด้านวิชาชีพชั้นสูง โดยมุ่งสนับสนุนการวิจัยและแสวงหาความรู้ใหม่ 3. เพื่อให้บริการทางด้านวิชาการแก่ชุมชนโดยการเผยแพร่ความรู้แก่ชุมชน ให้บริการด้านการฝึกอบรมและให้คำแนะนำแก่ชุมชน และองค์กรต่างๆ เพื่อเป็นการช่วยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของประเทศ 4. เพื่อแบ่งเบาภาระของรัฐบาลในการจัดการอุดมศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพียง 8 ปี นับจากมหาวิทยาลัยได้ถูกจัดตั้งขึ้น ในปี 1998"มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร"ก็ได้รับเกียรติให้เป็น มหาวิทยาลัยยอดเยี่ยมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Best Science and Technology)แห่งเอเชียในลำดับที่ 32 จาก นิตยสารเอเชียวีค (Asia Week Magazine) |
รายชื่อกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ปี 2538
ศ.น.พ. ยงยุทธ สัจวาณิชย์ นายกสภามหาวิทยาลัย
นายยงศักดิ์ คณาธนะวนิชย์ อุปนายกสภามหาวิทยาลัย
ดร.กำแหง สถิรกุล กรรมการ
ศ.น.พ.เกษม วัฒนชัย กรรมการ
ผศ.ดร.ทวี เลิศปัญญาวิทย์ กรรมการ
นางสาวอรพินท์ คณาธนะวนิชย์ กรรมการ
นางสาวชฏารัตน์ อนันตกูล กรรมการ
นางสาวใจชนก อนันตกูล กรรมการ
ผศ.ดร.เลอเกียรติ วงศ์สารพิกูล กรรมการ
ดร.แดเนียล บรีน กรรมการ
รศ.ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม กรรมการ
อาจาย์นวลรัตน์ ผดุงกุล กรรมการ
อันนี้เป็นข้อมูลที่นำมาจาก คู่มือการศึกษาปี 2538 นะครับ ส่วนปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลเนื่องจากมหาลัยไม่เปิดเผย
ทำเนียบคณะบดี
คณบดีท่านแรก
รศ.น.สพ.ดร.ดำรง พฤษราช
การศึกษา
สพ.บ.(ม.เกษตร) Dip.(Large Animal Practics and Artificial Tnsemination ) Ph.D.(Microbiology)(TiHo Hannover)
การทำงาน
- อดีต นายสัตวแพทย์ประจำสถานีบำรุงพันธุ์สัตว์เชียงใหม่ กรมปศุสัตว์
- อดีต อาจาย์ประจำภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ได้รับปริญญาตรี สัตวแพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณบดีท่านที่สอง
ผศ.พ.อ.น.สพ.ดร.อุดม ทิพยมนตรี ( พ.ศ.2540-2543)
ประวัติการศึกษา สพ.บ.(จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
วท.ม.(สรีระวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
Ph.D.(Physiology) U.of Mississppi at Medical Center
อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาสรีระวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์ พระมงกุฏเกล้า
คณะบดีท่านที่สาม
รศ.พล.ต.น.สพ. ทวีศักดิ์ บูรณวุฒิ ( พ.ศ.2544-2547)
ประวัติการศึกษา สพ.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ม. สรีระวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
Fellowship in Gastroenterogy [UCSD]
อดีตผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาสรีระวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์ พระมงกุฏเกล้า
คณะบดีท่านที่ สี่
รศ.น.สพ.ดร.ไพบูลย์ ยุติศรี (พ.ศ.2548-2550)
ประวัติการศึกษา สพ.บ.(เกษตรศาสตร์)
M.P.H.[Master of Pulic Health U. of the Philippines]
Ph.D.[Veterinary science , Azabu U. Japan]
อดีตหัวหน้าภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณบดีท่านที่ห้า
รศ.น.สพ.ดร.จตุพร กระจายศรี (พ.ศ.2551- ปัจจุบัน)
เก็บเข้าคอลเล็กชัน
ความคิดเห็น