ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    วันนี้ในอดีต

    ลำดับตอนที่ #64 : 24 มีนาคม

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 334
      0
      25 มี.ค. 49


                          24 มีนาคม  



    +++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++


      เหตุการณ์


    พ.ศ. 2145 (ค.ศ. 1603) - พระเจ้าเจมส์ที่ 1 ขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษ

    พ.ศ. 2424 (ค.ศ. 1882) - โรเบิร์ต คอค แพทย์ชาวเยอรมัน ประกาศการค้นพบแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของวัณโรค

    พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) - กำลังทหารของอาร์เจนตินา ก่อรัฐประหารขับประธานาธิบดี อิสซาเบล เปรอง ออกจากตำแหน่ง

    พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) - เรือบรรทุกน้ำมัน เอกซ์ซอน วัลเดซ ปล่อยน้ำมันมากกว่า 11 ล้านแกลลอน ลงสู่อ่าวพรินซ์วิลเลียมในอะแลสกา เป็นต้นเหตุให้เกิดภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อม

    พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) - Mac OS X v10.0 "Cheetah" วางจำหน่ายในวันนี้ ได้รับคำชมในเรื่องความเสถียรและความสามารถ แต่มีปัญหาในด้านความเร็ว

    24 มีนาคม พ.ศ. 2532เรือขนน้ำมัน แอกซอน วัลเดซ (Exxon Valdez) เกยตื้นบริเวณชายฝั่ง ปรินส์ วิลเลียม ซาวนด์ ทางต้อนใต้ของอลาสกา น้ำมันประมาณ 11 ล้านแกลลอนแผ่กว้างเหนือท้องทะเล การกำจัดคราบน้ำมันประสบความล้มเหลว อีกทั้งลมและคลื่นพัดพา ส่งผลให้คราบน้ำมันกระจายกว้างกว่า 100 ไมล์ทะเล และครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งกว่า 700 ไมล์ นกและสัตว์ทะเลนับแสนตัว ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์นี้

    24 มีนาคม 2493พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จนิวัติประเทศไทยพร้อม ม.ร.ว. สิริกิติ์ กิติยากร พระคู่หมั้น และได้ทรงประทับบนเรือหลวงศรีอยุธยา ที่กองทัพเรือจัดถวาย เป็นเรือพระที่นั่งในคราวเสด็จพระราชดำเนิน จากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ นิวัติพระนคร

    24 มีนาคม 2328 วันที่พม่าถอยทัพออกจากถลาง (เปิดอนุสาวรีย์ท้าวเทพกษัตรี ท้าวศรีสุนทร เมื่อ พ.ศ. 2510)

    24 มีนาคม 2430 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประกาศให้ยิงปืนเที่ยงบอกเวลา 12.00 น สถานที่ตั้งยิงปืนเที่ยงอยู่ที่ท้องสนามหลวง



    วันถึงแก่กรรม

    พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1905) - ชูลส์ แวร์น นักประพันธ์ชาวฝรั่งเศส ผู้บุกเบิกการเขียนนิยายวิทยาศาสตร์สมัยแรก ๆ (เกิด 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2370)



    ***************************

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×