ขั้นตอนวิธีการเขียนคำสั่งเทียม(Pseudo Code) - ขั้นตอนวิธีการเขียนคำสั่งเทียม(Pseudo Code) นิยาย ขั้นตอนวิธีการเขียนคำสั่งเทียม(Pseudo Code) : Dek-D.com - Writer

    ขั้นตอนวิธีการเขียนคำสั่งเทียม(Pseudo Code)

    '' งง ''

    ผู้เข้าชมรวม

    9,560

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    9

    ผู้เข้าชมรวม


    9.56K

    ความคิดเห็น


    3

    คนติดตาม


    0
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  29 พ.ค. 52 / 09:57 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ
      ขั้นตอนวิธีการเขียนคำสั่งเทียม(Pseudo Code)
      วัตถุประสงค์
      1.เพื่อให้นักเรียนสามารถเข้าใจรูปแบบของการเขียนคำสั่งเทียม
      2.เพื่อให้นักเรียนสามารถเขียนคำสั่งเทียมได้
       
      การเขียนรหัสเทียม
      รหัสเทียม(Pseudo Code อ่านว่า ซูโดโค้ด) คือ การอธิบายลำดับขั้นตอนการทำงานอย่างละเอียดได้จากขั้นตอนวิธีการ
      ประมวลผล แล้วขั้นตอนต่อไปคือ นำขั้นตอนการประมวลผลมาเขียนผังงานหรือรหัสเทียมหรืออาจเขียนทั้งสองอย่าง เพื่อนำผังงานหรือรหัสเทียมไปใช้ประกอบการเขียนโปรแกรมต่อไป
       
      ลักษณะการเขียนโปรแกรม
      เมื่อนักเรียนได้รับมอบหมายงานหรือปัญหา นักเรียนซึ่งจะเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นต้องมีหน้าที่ ดังนี้
      -          หาขั้นตอนวิธี(Algorithms) สำหรับศึกษาการแก้ปัญหานั้นๆให้กับคอมพิวเตอร์
      -          นักเรียนต้องอธิบายขั้นตอนวิธีดังกล่าวนั้นให้อยู่ในรูปแบบหรือคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้
      -          Program = เซตของชุดคำสั่ง (คำสั่งสำหรับสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน)
       
      ขั้นตอนวิธีสำหรับการโปรแกรม(Algorithms)
                      คือ ลำดับของชุดคำสั่งสำหรับการแก้ปัญหา ขั้นตอนวิธีที่ดีสำหรับการโปรแกรมต้องมีคุณลักษณะดังนี้
      -          แต่ละคำสั่งต้องไม่กำกวม (Unambiguous) และ เป็นคำสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้
      -          หลังจากคอมพิวเตอร์ดำเนินการกับคำสั่งใดๆแล้วคำสั่งถัดไปจะให้คอมพิวเตอร์ทำงานนั้นต้องไม่กำกวมด้วย
      -          การทำงานของคำสั่งทั้งหมดต้องจบในขั้นตอนที่จำกัด
       
      ลักษณะของรหัสเทียม
      1.กำหนดจุดเริ่มต้นด้วยคำว่า “Begin” และจุดสิ้นสุดด้วยคำว่า “End”
      2.ใช้คำที่สามารรถเข้าใจได้ง่าย
      3.การเขียนรหัสเทียมแต่ละคำสั่งควรเขียนเป็นบรรทัดๆ
      4.การเขียนรหัสเขียนรหัสเทียมต้องไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่งในการเขียนโปรแกรม
      5.ควรมีการย่อหน้า เพื่อสะดวกต่อการอ่านและการตรวจสอบ
      6.การเขียนรหัสเทียมจะเขียนจากบนลงล่าง และมีทางเข้าหนึ่งทาง ทางออกหนึ่งทาง
      7.การเขียนรหัสเทียมจะไม่เขียนหมายเลขกำกับในแต่ละขั้นตอน

      ประเภทของชุดคำสั่งในภาษาโปรแกรม
      -คำสั่งรับข้อมูล (Input)
      -คำสั่งแสดงผลข้อมูล (Output)
      -คำสั่งประมวลผลข้อมูล หรือ การกำหนดค่าตัวแปร (Assignment statement)
      -คำสั่งเปรียบเทียบค่า (Condition or Selection)
      -คำสั่งกระทำซ้ำ (Iteration or Looping)

      ตัวอย่าง แสดงลักษณะของรหัสเทียม
       
      อธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะข้อความ
      Begin                                        %3

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×