ยอดวิวรวม
86
ยอดวิวเดือนนี้
0
ยอดวิวรวม
86
ยอดวิวรวม
86
ยอดวิวเดือนนี้
0
ยอดวิวรวม
ข้อเท็จจริงนี้ก็เป็นเช่นเดียวกับสื่อบันเทิงที่อ้างอิงเนื้อหาจากเหตุการณ์จริงในประวัติศาสตร์ที่ต้องค้นหาและวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบกับเหตุการณ์จริงอยู่เสมอ นอกเหนือจากประเด็นที่เป็นปมให้ชาวเน็ตแซวเล่นอย่างเรื่องสำเนียงฝรั่งเศสของโรเบิร์ต ยังมีข้อมูลอีกหลายประการที่ไม่สอดคล้องกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์
พระเจ้าริชาร์ดที่ 2 มาจนถึงพระเจ้าเฮนรีที่ 4 ส่วนที่ 1 และ 2 ตามมาด้วยพระเจ้าเฮนรีที่ 5 และอื่นๆ โดยรวมแล้วบทละครนี้บอกเล่าถึงพัฒนาการด้านอิทธิพลของสายแลนแคสเตอร์ แห่งอังกฤษในศตวรรษที่ 15 ซึ่งเหตุการณ์ในช่วงเวลานั้นล้วนแล้วสะท้อนถึงการเมือง การทูต สงคราม และการทรยศหักหลังกัน
การสู้รบปราบดินแดนที่มีอย่างช้านาน คงไม่พ้นการทำศึกระหว่างอังกฤษกับประเทศฝรั่งเศสในตอน คริสศักราช 1415 กษัตริย์เฮนรี่ที่ 5 ได้นำกองทัพบุกประเทศฝรั่งเศสเพื่อครอบครองดินแดน มาเอาใจช่วยกษัตริย์เฮนรี่กัน ว่าเขาจะสามารถครอบครองประเทศฝรั่งเศสได้เสร็จไหมคุณเป็นผู้กำหนด กษัตริย์อาคุณร์ ที่เด่น แล้วก็ฉลาดหลักแหลมเป็นสุดที่รักของทุกคน สำหรับคู่ซี้ และก็สัตว์เลี้ยงเขายังมี นกพิราบ ที่มีคุณลักษณะ ที่มีคาถาอาคมที่เป็นความสามารถพิเศษของเขาโดยนักเวทย์ รุ่งเช้าวันหนึ่ง กษัตริย์อาคุณร์ตื่นมาจากการนอนของเขา เพราะว่าได้ยินเสียงโหวกเหวกโวยวาย แผดเสียงเตือนเขาว่า ผู้บุกรุก! ผู้บุกรุก! นี่เป็นสล็อตที่มาพร้อมทั้งเรื่องราวสุดเข้มข้น ด้วยธีมการศึกที่ทุกฝ่ายจะต้องทำศึกกันด้วยกำลังพลที่มี เพื่อปราบเอากรุสมบัติมาเป็นของตัวเองให้เยอะที่สุด
ในบทละครของเชกสเปียร์
เอ่ยถึงความสัมพันธ์
ที่แนบแน่น
แบบพี่น้อง
ระหว่างทั้งคู่
กระทั่งฮัล ขึ้นเป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 5
(ครองราชย์ 1413-1422) ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่พระองค์ไม่ได้ให้ความสำคัญกับเซอร์ จอห์น และอดีตคนสนิทก็ถูกเขียนในบทละครให้เสียชีวิต
ลงในภายหลังโดยไม่ได้มีคำอธิบายอื่นเพิ่มเติมหากเอ่ยถึงตัวละครหลักในเรื่องแล้ว
ในความเป็นจริง
ฮัล
ไม่ได้มีสิทธิครองบัลลังก์
อังกฤษแบบเต็มตัวแต่แรกด้วยซ้ำ
พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ประสูติที่ชายแดนระหว่างเวลส์กับอังกฤษ (ปีที่พระราชสมภพก็ยังไม่มีข้อมูลแน่ชัดว่าเป็น 1386 หรือ 87) พระองค์ยังไม่ได้เป็น “เจ้าชาย” แห่งมอนมอธ และเรียกกันว่า “เฮนรีแห่งมอนมอธ” แม้ว่าพระองค์จะสืบสายมาจากพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ก็จริง แต่เป็นเพียงทายาทของพระราชโอรสองค์ที่ 3 ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 โอกาสที่ฮัล จะขึ้นครองราชย์ได้ บุคคลที่มีสิทธิก่อนหน้าต้องลาโลกไปแล้วถึง 5 ราย แต่พระราชบิดาของฮัล หรือพระเจ้าเฮนรีที่ 4 (เดิมทีคือ เฮนรีแห่งโบลิงโบรก) ไม่ได้ดำเนินตามประเพณีนั้น พระองค์ยึดครองบัลลังก์จากพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 ภายหลังจากเกิดความขัดแย้งภายใน
ความสัมพันธ์ระหว่าง “ฮัล” กับพระเจ้าเฮนรีที่ 4
แม้ว่า
พระราชบิดาของฮัล
จะได้เป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แต่ดังเช่นในภาพยนตร์ (และบทละครของเชกสเปียร์ ที่ถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิง)
หนังเล่าความสัมพันธ์ระหว่างฮัลกับ
เฮนรีแห่งโบลิงโบรก
(Bolingbroke) ก็ไม่ได้เป็นไปอย่างราบรื่น ในภาพยนตร์กับบทละครของเชกสเปียร์
ก็มีรายละเอียดในช่วงบั้นปลายของพระเจ้าเฮนรีที่ 4 ซึ่งแตกต่างกันในบท
“พระเจ้าเฮนรีที่ 5”
ของเชกสเปียร์
พระเจ้าเฮนรีที่
4
เสียพระทัย
เมื่อทอดพระเนตรว่า ฮัล คิด
ว่าพระองค์สวรรคตแล้วและหยิบมงกุฎของพระองค์ไป
ทั้งที่พระองค์แค่บรรทม อย่างไรก็ตาม
ทั้งสองพระองค์สามารถคืนดีกัน
หลังจากฮัล
เผยความในใจถึงความรักที่มีต่อพระราชบิดา
ในซีนหนึ่งจนพระเจ้าเฮนรีที่ 4 พระราชทานมงกุฎของพระองค์ให้ฮัล
“เพอร์ซีย์” ผู้ห้าวหาญ และโธมัส ขณะที่
ในวัยหนุ่
ม
ฮัล
มีประสบการณ์ในการคุมกำลังทหารออกรบในเวลส์
ร่วมกับพระราชบิดาในการศึก
กับ
“
เฮนรี่
‘
ฮอตสเปอร์’
เพอร์ซีย์
” หรือที่
เรียกว่า “ยุทธการแห่งชรูว์สเบอรีย์”
(Battle of Shrewsbury) เมื่อปี 1403 และในช่วง 18 เดือนระหว่างปี 1410-11
เฮนรี ดูแลราชการแผ่นดินแทนที่พระราชบิดาที่ประชวรด้วย
เพอร์ซีย์ เป็นนักรบ
ที่ห้าวหาญ
แต่ในข้อเท็จจริง
นักประวัติศาสตร์ชี้ว่าการศึกนั้น
เพอร์ซีย์
สิ้นชื่อจากธนู
นักวิชาการอธิบายกันว่า
เฮนรี เองก็เกือบไม่รอดจากธนูเช่นกัน
โดยฮัล บาดเจ็บจากธนูที่สร้างบาดแผล
และอาการบาดเจ็บสาหัสบนใบหน้า
แต่ด้วยการดูแลอย่างดีทำให้ฮัล รอดมาได้
(แต่แน่นอนว่าต้องทนกับความเจ็บปวดอย่างแสนสาหัส)
ชัยชนะในศึกครั้งนั้นทำให้บัลลังก์ของพระเจ้าเฮนรีที่ 4 มั่นคงขึ้น
การเมืองและการรบกับฝรั่งเศส
ส่วนใน
บริบทสถานการณ์ทางการเมือง
และความสัมพันธ์
กับประเทศคู่ปรับ
ช่วงพระเจ้าเฮนรีที่ 5 เป็นช่วงเวลาที่ราชวงศ์ฝรั่งเศส
ประสบปัญหาขัดแย้งกันเอง
ภายใน ระยะเวลาระหว่างค.ศ. 1407-1435 สถานการณ์ช่วงหนึ่งในเวลานั้นแทบเปรียบเสมือน “เสียงชักชวน”
กษัตริย์อังกฤษให้เข้าสถาปนาการปกครองเหนือบัลลังก์แห่งฝรั่งเศสภายหลังพระองค์ขึ้นเป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 5 ในค.ศ. 1413 เมื่อ
การเจรจากับฝรั่งเศสไม่สามารถลุล่วง
ได้ และลงเอยด้วยการทำสงคราม เหตุการณ์
จึงนำมาสู่การศึก
ใหญ่ช่วงท้ายภาพยนตร์ซึ่ง
เป็นที่รู้จักกัน
ในประวัติศาสตร์
ว่า “ยุทธการแอกินคอร์ท”
(Battle of Agincourt) ในปี 1415 ยุทธการนี้
เป็นอีกหนึ่งชัยชนะของอังกฤษ
ใน
“สงครามร้อยปี”
ซึ่งปรากฏอยู่ในผลงานของเชกสเปียร์ โดย
หลังจากอังกฤษตัดสินใจทำสงครามกับฝรั่งเศส
เมื่อยกทัพมาถึงดินแดนฝรั่งเศส
ก็
สามารถยึดเมืองท่า Harfleur
แต่
หลังจากนั้น
กองทัพ
อังกฤษก็ประสบปัญหาทหารล้มป่วย
ขณะที่กองทัพอังกฤษต้องใช้กำลังพลส่วนหนึ่งไว้
รักษาที่มั่นซึ่งยึดไว้ได้ด้วย สถานการณ์นี้
ทำให้กองทัพอังกฤษอ่อนกำลัง
ลงทั้งแง่จำนวนและทางข้อได้เปรียบในสงคราม
แต่ในการศึกสำคัญ
กองทัพอังกฤษที่นำโดยพระเจ้าเฮนรีที่ 5
ยัง
มีชัยเหนือกองทัพฝรั่งเศส
จนได้ เอกสารจาก
หอจดหมายเหตุแห่งสหราชอาณาจักร
(The U.K.’s National Archives)
บรรยายสถานการณ์
ในศึกครั้งนั้น
คล้ายกับรายละเอียดที่ปรากฏในภาพยนตร์
ด้วยสภาพอากาศในช่วงก่อนวันสู้รบ
ซึ่งน่าจะ
มีฝนตกลงมาจนผิวดินกลายสภาพเป็นโคลน
กองทัพฝรั่งเศสที่เคลื่อนทัพไปข้างหน้า
ไม่สามารถรักษาสมดุลไว้ได้
กองทัพ
อังกฤษจึงได้เปรียบ
ในการสู้รบ
และได้ชัยในศึกครั้งนี้
ภาพลักษณ์ของ
พระเจ้าเฮนรีที่ 5 จากภาพวาด
หรือในสื่อบันเทิง
จะสะท้อนพระองค์ในแง่ชายหนุ่มร่างผอมบาง
แต่
หากอ้างอิง
จากหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์จะพบว่า
ตลอดรัชสมัยของพระองค์
พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ทรงทำศึกกับฝรั่งเศสอย่างต่อเนื่อง
นักวิชาการ
จึงมักขนานนามพระองค์
ว่า
“กษัตริย์นักรบ”
อีกพระองค์หนึ่ง โดยเฉพาะศึกที่ถูกพูดถึงกันมากในครั้งนี้ และปรากฏในภาพยนตร์
อันเป็นศึกที่พระองค์มีกำลังน้อยกว่า คาดว่าทัพฝรั่งเศสมีกำลังพลไม่ต่ำกว่าหมื่นนาย ส่วนทัพของพระเจ้าเฮนรีที่ 5 มีกำลังพลหลักพันปลายๆ ไม่เกินหมื่น
อีกทั้งยังอยู่ในสภาพไม่สมบูรณ์ ทหารอยู่ในสภาพเหนื่อยล้าจากการเดินทางยาวไกล สิ่งที่ทำให้กองทัพ
อังกฤษได้เปรียบ
เสมอคือ
“พลธนู”
พระเจ้าเฮนรีที่ 5 นิยมให้
มีพลธนู 3 นายต่อทหารเดินเท้า 1 นาย
ขณะที่อัตราส่วนพลธนูในทัพฝรั่งเศสคาดว่า น่าจะอยู่ที่พลธนู 1 นายต่อทหารเดินเท้า 1 นาย
ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลอย่างมากต่อการรบ พลธนูอังกฤษในยุคกลาง
เปรียบเสมือน “ปืนกล”
ในสมัยใหม่ และมันสร้างความเสียหายให้กองทัพฝรั่งเศสอย่างมากด้วย
ในขณะเดียวกัน
การรบก็ไม่ได้สะท้อนถึงความโหดร้าย
และรุนแรงของนักปกครอง
เท่านั้น
พระเจ้าเฮนรีที่ 5
ยังแสดงให้เห็นว่า พระองค์ชนะใจผู้ถูกปกครองด้วย
หลุยส์
การรบครั้งนี้ถูกถ่ายทอดด้วยฉากใหญ่ในภาพยนตร์ และมีบทของ
“หลุยส์”
(Duke of Guyenne) รหลุยส์ เ
ป็นพระราชโอรสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6
และหากย้อนกลับไปในรายละเอียดของภาพยนตร์ (และบทของเชกสเปียร์)
ศึกครั้งนี้ถูกบอกเล่าว่าเกิดขึ้น
เพราะส่วนหนึ่ง
มาจากหลุยส์
ส่งลูกบอลไปให้เฮนรีที่ 5
แต่นักประวัติศาสตร์
ส่วนหนึ่งอธิบายว่า
ไม่พบหลักฐานที่บ่งชี้ถึงเหตุการณ์นี้
ในเอกสารทางประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศส ขณะที่หลุยส์ เองก็ไม่ได้มีส่วนร่วมในการรบครั้งนั้น
หลุยส์เสียชีวิตจากอาการป่วย
หลังจากได้ชัยในศึกครั้งสำคัญ
พระเจ้าเฮนรีที่ 5
สามารถ
ขยายอาณาเขตการครอบครองฝรั่งเศสไ
ด้เพิ่มขึ้นอีก กระทั่งในเดือนพฤษภาคมปี 1420
อังกฤษและฝรั่งเศสได้ข้อตกลงเป็นสนธิสัญญาตรัวส์
(Treaty of Troyes) รายละเอียดมี
ระบุถึงการอภิเษกสมรสระหว่างกษัตริย์เฮนรีที่ 5 กับแคเธอรีนแห่งแวลัวส์
พระธิดาของกษัตริย์ชาร์ลส์ที่ 6
ที่ปกครองฝรั่งเศสในเวลานั้น และให้กษัตริย์เฮนรีที่ 5 (และรัชทายาท) มีสถานะเป็นผู้สืบทอดบัลลังก์ฝรั่งเศสต่อจากกษัตริย์ชาร์ลส์ที่ 6 ในภาพยนตร์ฉายภาพพระเจ้าชาร์ลสที่ 6 เล็กน้อย
หากขยายความมากขึ้น เชื่อกันว่า
ช่วงปลายรัชสมัย
พระองค์ประชวรทางจิต
มีปัญหาเรื่องความจำ
ในบันทึกของโป๊ป
ที่มีชีวิตอยู่ในยุคสมัยของพระองค์อ้างว่า
ช่วงเวลาหนึ่ง
กษัตริย์ชาร์ลสที่ 6 คิดว่าร่างกายของตัวเองทำจากแก้ว
และพยายาม
หาทางป้องกัน
ตัวเอง
ไม่ให้ “แก้ว” แตกเสียหาย
หลังการอภิเษกสมรสและมีช่วงเวลาฮันนีมูนกันพักหนึ่ง
พระเจ้าเฮนรีที่ 5 และแคเธอรีน
เสด็จฯ กลับอังกฤษ
ประกอบพิธีขึ้นเป็นพระราชินี
ในเดือนกุมภาพันธ์ 1421
แต่หนึ่งเดือนให้หลัง
ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกับที่
แคเธอรีนตั้งครรภ์ก็เกิดเหตุไม่คาดฝัน
ในฝรั่งเศส เมื่อ
โธมัส ดุ๊กแห่งคลาเรนส์ (
Duke of Clarence)
สิ้นพระชนม์ในการรบ
กับกองทัพฝรั่งเศสที่ Bonjou ฝั่งกองทัพฝรั่งเศสจัดตั้งโดยกลุ่ม
โดแฟง
(The Dauphin)
ซึ่ง
เป็นรัชทายาทเดิมผู้ถูกตัดออกจากสิทธิ
ในการครองบัลลังก์ฝรั่งเศสและ
ร่วมมือกับกองทัพชาวสกอต
โธมัส
คือเจ้าชายของอังกฤษ โดยพระองค์
เป็นพระราชโอรสคนที่ 2 ของพระเจ้าเฮนรีที่ 4
สันนิษฐานว่า โธมัส อยู่ในวัย 33 ปี
พระเจ้าเฮนรีที่ 5
เสด็จฯ มาที่ฝรั่งเศสเพื่อหวัง
กอบกู้สถานการณ์
ทำให้
พระองค์ไม่ได้เจอหน้าพระราชโอรสที่ประสูติ
ในเดือนธันวาคม
ภายหลัง
พระองค์เสด็จถึงก็เริ่มกอบกู้สถานการณ์ได้นับตั้งแต่ปี 1421-1422 แต่เมื่อปี 1422 ซึ่ง
แคเธอรีน เสด็จฯ มาสมทบกับพระเจ้าเฮนรีที่ 5
กลับกลาย
เป็นการพบเจอที่ไม่ได้เป็นข่าวดี
พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ประชวร
ด้วยอหิวาตกโรค
และสวรรคต
ในวันที่ 31 สิงหาคม 1422
ไม่ถึง 2 เดือนหลัง
ข่าวร้ายของพระเจ้าเฮนรีที่ 5
พระเจ้าชาร์ลสที่ 6 แห่งฝรั่งเศสก็สวรรคตลง
การที่กษัตริย์ชาลส์ที่ 6 และกษัตริย์เฮนรีที่ 5 สวรรคตในเวลาไล่เลี่ยกัน
ขณะที่กษัตริย์เฮนรีที่ 6
ของอังกฤษ
ยังอยู่ในวัยแบเบาะ
มกุฎราชกุมารชาร์ลส์
ก็ลุกขึ้นมา
อ้างสิทธิสืบบัลลังก์ต่อจากพระราชบิดา
ทั้งพระเจ้าเฮนรีที่ 6 (ในวัย 9 เดือน) และชาร์ลสที่ 7 แห่งฝรั่งเศส (ในวัย 17 พรรษา) ต่างอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ทั้งสองพระองค์ยังไม่ได้ขึ้นครองบัลลังก์จนกระทั่ง “
โจนออฟอาร์ก
” (Jeanne d’Arc ในภาษาฝรั่งเศส)
เข้ามา
เป็นส่วนหนึ่งในการรบ
จนทำให้
ชาร์ลสที่ 7 ประกอบพิธีราชาภิเษก
ขึ้นเป็นกษัตริย์ฝรั่งเศสในปี 1429
ภายหลัง
จากนั้นอีก 4 เดือน เ
ฮนรีที่ 6 จึงประกอบพิธีราชาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์อังกฤษ
สถานการณ์
หลังจากนั้น
จึงเริ่มเป็นฝ่าย
ฝรั่งเศสที่ค่อยๆ ยึดดินแดนคืนจากอังกฤษ
ในช่วงหลังของสงครามร้อยปี
ก็พลิกกลับกลายเป็นช่วงเวลาของฝรั่งเศส
หากมองย้อนกลับไป
แม้ว่ารัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 5
จะเป็นช่วงเวลาสั้นๆ
แต่ความสำเร็จในด้านการปกครองและ
การรบของพระเจ้าเฮนรีที่ 5 เป็นที่จดจำในประวัติศาสตร์
ทั้งผ่านหลักฐานและบันทึกที่อิงประวัติศาสตร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทละครของเชกสเปียร์ อันทำให้ผู้คนคุ้นเคยกับภาพจำจากตัวละครในเรื่องได้ง่ายขึ้น
เนื้อเรื่องในรัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ยังปรากฏในผลงานของเชกสเปียร์เช่นกัน ไม่แน่ว่าในอนาคตอาจได้เห็นภาพยนตร์ที่บอกเล่าเรื่องราวในยุคต่อมาก็เป็นได้
สนใจร่วมสนุกและพูดคุยกับเรา Lisa118 https://bit.ly/3iHXL2Y
ติดตามกิจกรรมกับเรา :
FB: https://www.facebook.com/Lisa118sp
Twister: https://twitter.com/Lisa118s
Tiktok: www.tiktok.com/@lisa118sp
IG:https://instagram.com/lisa118s?r=nametag
Line OA : https://Lin.ee/Ck9RoEZ
บทความที่เกี่ยวข้อง :
https://lisa118ph.blogspot.com
https://lisa118th.simplesite.co
https://lisa118ls.simplesite.com
เนื้อเรื่อง อัปเดต 7 พ.ค. 65 / 13:17
ผลงานอื่นๆ ของ Lisa118 ดูทั้งหมด
ผลงานอื่นๆ ของ Lisa118
ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้
ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้