ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    สำรวจอวกาศ

    ลำดับตอนที่ #7 : มองโลก และระบบสุริยะจากขอบทางช้างเผือก

    • อัปเดตล่าสุด 5 ม.ค. 52


    จุดสีขาวเล็กๆ ในกรอบคือดวงอาทิตย์ ของเราในระบบสุริยะ ซึ่งมองเห็นดังเช่น
    ดาวทั่วไป จากตำแหน่งระยะไกลของกาแล็คซี่ ทางช้างเผือก 



    Orion Arm เป็นอาณาเขตจักรวาล ที่กว้างใหญ่ แม้จะเข้าสู่ ระยะ 10,000 ปีแสง
    ก็ยังเป็นพื้นที่ของ Orion Arm ภายในทางช้างเผือกเช่นเดิม มีจำนวนดาว มากกว่า 5,000 ล้านดวง ตัวเลขเหล่านี้เป็นการประเมินทางเทคนิค ของการสำรวจ
    ข้อเท็จจริง มีมากกว่าเพราะ ทับซ้อนกันอยู่ด้านหลังที่ลึกเข้าไปเป็นชั้นๆ 





    บรรยากาศทางช้างเผือกนั้น อยู่ท่ามกลางความหนาแน่นด้วยกระจุกดาว ที่โคจร
    ล่องลอยนับพันล้านปี ปะปนกับกลุ่มฝุ่นหมอกอวกาศ ด้วยกระแสลมอวกาศจาก
    การแผ่รังสีความร้อน บางบริเวณมีความหนาทึบและดำมืดอย่างไม่น่าเชื่อ
    จนแสงไม่สามารถผ่านได้



    ระยะ 50,000 ปีแสงถัดมา มีดาวอยู่จำนวน 200 พันล้านดวงทั้งหมด เรายังอยู่ใน
    บริเวณเขต กาแล็คซี่ ทางช้างเผือก โดยหากคิดว่าเป็น กาแล็คซี่ที่มีความใหญ่โต
    มากแล้วหรือ ด้วยความยาว 120,000 ปีแสง ตอบได้เลยว่า ไม่ใช่ 







    ในจักรวาลยังมี กาแล็คซี่ เป็นจำนวนนับไม่ถ้วนที่มีความใหญ่โตกว่าทางช้างเผือก
    และบางแห่งมีอายุกำเนิดที่เก่าแก่มากด้วย

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×