กฎแปลกๆกับคน(โครต)ดีที่ช่วยแม้แต่ผีนี้... อันไหนน่ากลัวกว่ากันวะ? - นิยาย กฎแปลกๆกับคน(โครต)ดีที่ช่วยแม้แต่ผีนี้... อันไหนน่ากลัวกว่ากันวะ? : Dek-D.com - Writer
×

    กฎแปลกๆกับคน(โครต)ดีที่ช่วยแม้แต่ผีนี้... อันไหนน่ากลัวกว่ากันวะ?

    ตั้งแต่ฉันเกิดเป็นยมทูตมา ไม่อยากเชื่อว่าจะมีคนจิตใจบริสุทธิ์ขนาดนี้บนโลก ขนาดที่ว่ากฎบอกให้ถีบเด็กใช้เป็นเหยื่อล่อ มันช่วยเด็ก มันชื่อซีเป็นทหารเก่าวัยกลางคนที่ถูกไล่ออกเพราะคลั่งความยุติธรรมเกินไป..

    ผู้เข้าชมรวม

    148

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    12

    ผู้เข้าชมรวม


    148

    ความคิดเห็น


    1

    คนติดตาม


    6
    จำนวนตอน :  2 ตอน
    อัปเดตล่าสุด :  2 ม.ค. 66 / 00:41 น.
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

    เมื่อคุณลุงตำรวจวัยกลางคนที่เป็นอดีตตำรวจมาหลายสิบปี ต้องการเงินเพื่อช่วยหลานของเพื่อน! 

    เขาจึงต้องไปทำงานที่สั้นแต่ได้เงินเร็ว เพราะ หากเพื่อนเขาไม่ได้เงินในเร็วๆนี้ หมอก็จะไม่รักษาให้! เขาจึงต้องรีบแล้ว!!


    เขาจะเจอกฎแปลกๆอะไรบ้าง!? เขาจะหาเงินเพื่อช่วยเพื่อนทันหรือไม่!!? 





    ____________________________________________________________


    ด้านล่างนี้เป็นข้อมูลเกี่ยวกับเพื่อนสนิทของเขา 



    เรื่องของคุณลุงซีหรือนายนาฎยจีร์ อุทัยฑูตเทว ที่ทำงานตำรวจมาหลายสิบปี อยู่ๆก็ถูกไล่ออกแล้วเพื่อนสนิทที่แลกชีวิตแทนกันได้ของทั้ง2หรือคือลุงซีและลุงดี 



    ลุงดีเป็นเพื่อนตั้งแต่อนุบาลจนถึงตอนนี้ รู้ใจกันมาก แม้จะไม่ได้ทำงานอาชีพเดียวกันแต่ก็เกี่ยวข้องกับทางกฎหมายทั้งคู่ 



    ตอนนี้เพื่อนสนิทของเขามีหลานตัวเล็กที่เกิดมาไม่นานแต่ดูวันเกิดมันอันนั้นนิดหน่วย... 

    วันศุกร์ที่13 พฤษภาคม 2XXX หรือ 13/05/2XXX 

    เวลาคลอดคือ 13นาฬิกา 13นาที 13วินาที เป็นช่วงเวลาที่คุณหมอคลอดเด็กออกมาจากท้องแม่ได้ หรือ 

    13:13:13 , บ่าย1 13นาที 13วินาที หรืออาจคาดเคลื่อนจากนั้นมั้ย



    เขาไม่รู้ เพื่อนบอกมาแบบนั้น แล้วหลานตัวเล็กของเขาคนนี้ก็ดันเป็น

    โรค ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด [คำอธิบายด้านล่าง]

    โชคดีที่โรงบาลตรวจเจอก่อน แต่มันก็ต้องใช้เงิน ถึงเจ้าดีจะเตรียมเงินไว้มากแต่เรื่องอุปกรณ์เด็กเล็ก สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม อาหารแล้วเรื่องอาชีพทนายของดี มันก็ไม่ได้เป็นแบบเงินเดือนแต่รับแบบงานต่องาน 



    เพราะลี่ภรรยามันท้องอยู่ มันก็ต้องดูแลเมียมันเลยหยุดรับงาน ถึงบางครั้งฉันจะไปช่วยดูแล ช่วยเฝ้าให้เพราะมันมีธุระหรือไม่ว่างอยู่กับภรรยา มันจะวานฉันนี้แหละ ลี่ภรรยาก็ไว้ใจฉันเพราะฉันเป็นเพื่อนสนิทสามีของเธอและเจอหน้ากันบ่อยๆ ฉันคิดว่าแบบนั้น 


    กลับมาปัญหาเดิม แต่มันก็ขาดเงินอยู่นิดหน่วย ฉันว่าจะให้เงินมันแตก็ขาดอีกนิดหน่วย ฉันคิดว่าจะหางานเสริมในช่วงนั้นและหัวหน้าก็เรียกฉันพอดี..




    ____________________________________________________________


    คำอธิบาย ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด


    โรคภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิดเป็นภาวะที่พบได้บ่อยพอสมควรในประเทศไทย โดยทั่วไปประมาณ 1 ต่อ 3,000-4,000 จะพบอุบัติการณ์ได้มากในบางพื้นที่ของประเทศไทยที่มีการบริโภคธาตุไอโอดีน น้อย เช่น ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ถึง 1 ต่อ 1,900 ทารกเกิดมีชีพ ภาวะ นี้เป็นภาวะซ่อนเร้นอยู่ในตัวทารก เนื่องจากไม่สามารถบอกความผิดปกติได้จากการดูภายนอก เนื่องจากทารกจะดูเป็นปกติทุกอย่าง แต่หากไม่ให้การรักษาตั้งแต่ในระยะแรก (ภายใน 2 เดือน) จะส่งผลเสียรุนแรงต่อพัฒนาการเจริญเติบโตและสมองทำให้ปัญญาอ่อน



    อันที่จริงเราสามารถตรวจได้ง่าย เพียงตรวจเลือดทารกก่อนออกจากโรงพยาบาล เช่น หยดเลือดบนกระดาษกรองส่งตรวจ ซึ่งปัจจุบันโรงพยาบาลเกือบทุกแห่งทำการตรวจคัดกรองภาวะดังกล่าว ดังนั้น หากท่านได้รับการติดต่อจากทางโรงพยาบาล หรือจากกระทรวงสาธารณสุขว่า สงสัยทารกจะมีภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน ต้องรีบนำทารกกลับมาพบแพทย์เพื่อตรวจซ้ำ และให้การรักษาในทันทีเพื่อป้องกันภาวะปัญญาอ่อน 



    ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด หรือ Congenital Hypothyroidism เป็นโรคที่พบได้บ่อยประมาณ 1:3,000 – 1:4,000 ราย ซึ่งภาวะนี้เป็นสาเหตุของปัญญาอ่อนที่สามารถป้องกันได้ถ้าให้การวินิจฉัยและเริ่มการรักษาเร็ว เนื่องจากไทรอยด์ฮอร์โมนเป็นฮอร์โมนที่จำเป็นต่อพัฒนาการของสมองโดยเฉพาะในช่วง 3 ขวบปีแรก เพราะฉะนั้นถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนตัวนี้ก็จะทำให้สมองพัฒนาได้ไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งจะส่งผลต่อสติปัญญา และพัฒนาการของลูกน้อยได้ จึงจำเป็นต้องมีการตรวจคัดกรองตั้งแต่แรกเกิดเพื่อให้การรักษาได้อย่างทันท่วงที อาการมักจะยังไม่แสดงอาการเมื่อแรกเกิดเนื่องจากได้รับไทรอยด์ฮอร์โมนจากแม่ผ่านมาทางรก



    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น