ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    -เขตการศึกษา- ที่เก็บงานรร.หามีอันใดไม่

    ลำดับตอนที่ #26 : โทษของคลื่นวิทยุ

    • เนื้อหานิยายตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 6
      0
      1 พ.ย. 61

    คลื่นวิทยุ(คลื่นโทรศัพท์มือ คลื่นเอฟเอ็ม คลื่นเอเอ็ม และคลื่นยาว)



    คลื่นวิทยุสามารถทะลุเข้าไปในร่างกายมนุษย์ได้ลึกประมาณ 1/10 ของความยาวคลื่นที่ตกกระทบ เเละคลื่นเหล่านี้อาจจะทำลายเนื้อเยื้อของอวัยวะภายในของมนุษย์ได้ ผลของการทำลายของคลื่นเหล่านี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความเข้มของคลื่นเหล่านี้ อวัยวะที่มีความไวต่อคลื่นวิทยุ ได้เเก่ นัยน์ตา ปอด ถุงน้ำดี กระเพาะปัสสวะ อัณฑะ เเละระบบทางเดินอาหารบางส่วน โดยเฉพาะนัยน์ตา เเละอัณฑะของมนุษย์เพราะเปนส่วนที่อ่อนเเอที่สุดเมื่อได้รับคลื่นไมโครเวฟเหล่านี้
    ตารางแสดงผลของคลื่นวิทยุต่อร่างกาย
    ความถี่ความยาวคลื่น (m)บริเวณสำคัญ
    ที่อาจเกิดอันตราย
    ผลที่เกิดขึ้น
    น้อยกว่า 150 MHzมากกว่า 2.00-ทะลุผ่านร่างกายโดยไม่มีการดูดกลืน
    150 MHz - 1.2 GHz2.00-0.25อวัยวะในร่างกายเกิดความร้อนบริเวณใต้ผิวหนัง และอวัยวะภายใน
    1-3 GHz0.30-0.10เลนส์ตาเป็นอันตรายต่อเลนส์ตาทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น
    3-10 GHz0.10-0.03เลนส์ตาและผิวหนังรู้สึกร้อนที่ผิวหนัง เหมือนถูกแสงอาทิตย์
    มากกว่า 10 GHzน้อยกว่า 0.03ผิวหนังสะท้อนที่ผิวหนัง หรือถูกดูดกลืนน้อยมาก

     ข้อเสียด้านการใช้งาน

    1.    มีข้อจำกดด้านการสร้างสรรค์ ขาดการจูงใจด้านภาพ ไม่สามารถสาธิตการทำงานของสินค้าหรือบริการได้

    2.    อายุของข่าวสารสั้น หากผู้ฟังพลาดรายการโฆษณา จะไม่สามารถย้อนมารับฟังได้อีก

    3.   มีการแบ่งแยกกลุ่มผู้ฟัง เพราะมีรายการให้เลือกฟังมาก ผู้ฟังสามารถเลือกฟังได้หลายสถานี อาจทำให้พลาดข่าวสารที่นำเสนอ

    4.    มีความยุ่งยากในการซื้อสื่อ เนื่องจากมีจำนวนสถานีมาก ทำให้ยากต่อการเลือกเวลาและสถานี

    5.    ข้อมูลวิจัยผู้ฟังมีจำกัด มีปัญหาในการวัดปริมาณผู้ฟัง ทำให้ผู้วางแผนโฆษณาขาดข้อมูลที่จะใช้เป็นเกณฑ์ในการซื้อเวลาวิทยุกระจายเสียงเป็นสื่อโฆษณาที่เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้อย่างกว้างขวางในเวลาอันรวดเร็ว ทำให้ข้อมูลมีความทันสมัย สามารถสร้างความถี่ได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำ แต่มีข้อจำกัดในด้านภาพและอายุของข่าวสารที่สั้น ประกอบกับการที่ผู้ฟังมักทำกิจกรรมอื่น ๆ ไปด้วย ทำให้ความสนใจในข่าวสารข้อมูลลดลง วิทยุกระจายเสียงจึงเหมาะที่จะเป็นสื่อเสริมโดยการโฆษณาให้บ่อยเพื่อเตือนความจำ การเลือกสถานี รายการและเวลาที่เหมาะสมสอดคล้องกับสินค้าหรือบริการ จะทำให้แผนการรณรงค์โฆษณาเกิดประสิทธิภาพ



    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×