ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    โรงเรียน Survivor school

    ลำดับตอนที่ #55 : แผนการเรียนเอาตัวที่ 1 : : 1.2 ป่าดงดิบแล้ง

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 101
      0
      26 พ.ย. 50

    แผนการเรียนเอาตัวรอด 1.2 : : ป่าดงดิบแล้ง

     ( ที่มา : จากหนังสือ "พืชกินได้และพืชมีพิษในป่าเมืองไทย" โดย สมจิตร พงศ์พงัน และ สุภาพ ภู่ประเสริฐ )

    ป่าดงดิบแล้ง

         ป่าชนิดนี้มีกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป ตามที่ราบลุ่ม ตามหุบเขา ในระดับต่ำซึ่งประมาณ 

    ๕๐๐ เมตร หรือตามแนวลำห้วย และลำธาร ตามบริเวณที่มีน้ำฝนค่อนข้างชุก ขณะนี้มีป่า

    ชนิดนี้เป็นหย่อม ๆ ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากตามบริเวณหุบ

    เขาแล้ว ป่าดงดิบแล้งในปัจจุบันนี้เป็นร่องรอยที่เหลืออยู่ของพื้นที่ ป่าอันกว้างใหญ่ และ

    อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ไม้ปกคลุมที่ราบภาคกลาง หรือที่ราบลุ่มน้ำเจ้าพระยา และ

    บางส่วนของที่ราบสูง บริเวณจังหวัดนครราชสีมา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปัจจุบันป่า

    ดงดิบแล้งที่ยังคงมีความอุดมสมบูรณ์ดีได้แก่ ป่าภูหลวง-วังน้ำเขียว ที่ตำบลสะแกราช 

    อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของชายป่าดงพญาเย็นที่มี

    ชื่อเสียง ป่าดงดิบแล้งนั้นมีลักษณะทั่ว ๆ ไปคล้ายป่าดงดิบชื้น แต่โปร่งกว่าเล็กน้อย ไม้ที่มี

    ค่าทางการค้า ได้แก่
    ไม้ยาง ไม้ตะเคียน ไม้พยุง ไม้ชิงชัน
    เป็นต้น 

    +++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×