ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    “ประวัติบุคคลสำคัญ”

    ลำดับตอนที่ #3 : สมัยกรุงธนบุรี

    • เนื้อหานิยายตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 1.29K
      3
      3 พ.ย. 52

     

     

     

     

     

    สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

     

    สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ.2310-2325

    ·      อายุ 9 ปี เจ้าพระยาจักรีได้พาไปฝากเรียนหนังสือในสำนักของพระอาจารย์ทองดี

    ·      เมื่ออายุ 13 ปี ได้เข้าถวายตัวรับราชการเป็นมหาดเล็กในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

    ·      อายุ 23 ปี อุปสมบท 3 พรรษาได้ลาสิกขาบทออกมารับราชการและได้รับการแต่งตั้งเป็นหลวงยกบัตรเมืองตาก เมื่อเจ้าพระยาเมืองตากถึงแก่กรรมก็ได้เลื่อนขึ้นเป็น พระยาตากขึ้นครองเมืองตาก (ระแหง)

    ·      สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเรียกอีกพระนามหนึ่งว่า

    สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

     

    พ.ศ. 2309

    พม่ายกทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา

    พระยาตากได้ถูกเรียกเข้ามาช่วยราชการในกรุงศรีอยุธยาและรบชนะพม่า

    หลายครั้ง และได้เลื่อนยศขึ้นเป็น พระยาวชิรปราการ

    พระยาตากเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าแน่  ตัดสินใจพาสมัครพรรคพวก

    หนีไปตั้งมั่นที่ เมืองจันทบูรณ์

    พ.ศ. 2310

    ยกทัพกลับมาตีกรุงธนบุรีและค่ายโพธิ์สามต้นและสามารถกู้เอกราชได้

     

     

    ชุมนุมพระยาตากก่อนตั้งกรุงธนบุรี

    พระยาตากไปสร้างฐานกำลังตั้งตัวเป็นใหญ่ที่จันทบุรีอาณาเขตตั้งแต่

    ชายแดนกัมพูชาจนถึงชายฝั่งทะเลตะวันออกทั้งหมด

     

    ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก

    ·      พ.ศ. 2311 พระเจ้าตากสินมหาราชยกทัพไปปราบ พระเจ้าตากสินได้รับ

         บาดเจ็บจึงต้องยกทัพกลับ

    ·      เจ้าพระยาพิษณุโลกประชวรและถึงแก่พราลัย  น้องชายขึ้นครองเมืองแทน

    ·      เมืองพิษณุโลกอ่อนแอ เจ้าพระปางเห็นเป็นโอกาสเหมาะจึงยกทัพมาตี

         และผนวกรวมกับชุมนุมพระฝาง

     

    ชุมนุมนครศรีธรรมราช

    ·      พ.ศ. 2312 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยกทัพไปปราบ ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช

    ·      มีเจ้าพระยาจักรีเป็นแม่ทัพ แต่แม่ทัพกรุงธนบุรีกลับไม่ปรองดองกัน

    ·      เจ้าพระยาตากจึงต้องลงไปได้ด้วยพระองค์เองแล้วก็ทรงตีได้สำเร็จ

     

    ชุมนุมพิมาย

    ·      กรมหมื่นเทพพิพิธเป็นเจ้าเมือง

    ·      สมเด็กพระเจ้าตากบัญชาให้ (ทองด้วง)และ (บุญมา) ไปตีชุมนุมพิมาย

    ·      กองทัพไม่สามารถต้านทานกองทัพกรุงธนบุรีได้ จึงแตกพ่ายไป

     

    ชุมนุมพระฝาง

    ·      พระสังฆราชาได้ตั้งตนเป็นเจ้าทั้งที่ยังเป็นพระภิกษุอยู่ ชาวบ้านเรียก เจ้าพระฝาง

    ·      หลังสถาปนากรุงธนบุรี เจ้าพระยาตากทัพหน้าโจมตีเมืองพิษณุโลก ด่านหน้าของเจ้าพระฝาง

    ·      เจ้าพระฝางพาพรรคพวกหลบหนีไปอยู่เมืองเชียงใหม่

    การปกครองสมัยกรุงธนบุรี

    การปกครองส่วนภูมิภาค

    -                  หัวเมืองชั้นในจะมีผู้รั้ง

    -                   เมืองพระยามหานคร

    แบ่งออกได้เป็น

    เอก โท ตรี อัตรา

    มีเจ้าเมืองเป็นผู้ปกครอง

    - เมืองเทศราช

    ยึดแบบกรุงศรีอยุธยา

    แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

    การปกครองส่วนกลาง

    มีอัครเสนาบดี2ตำแหน่ง

    -                  สมุหนายก เสนาบดีฝ่ายพลเรือน

    -                   สมุหกลาโหม เสนาบดีฝ่ายทหาร

     

    เศรษฐกิจ

    ·      ช่วงแรกๆมีปัญหาเพราะข้าวยากหมากแพง

    ·      พระเจ้าตากสินสละทรัพย์ส่วนพระองค์ให้ซื้อข้าวแจกประชาชน

    ·      ภายหลังให้ราษฎรทุกคนปลุกข้าวในบริเวณรอบๆมหารชวังและนำไปขายให้กับชาวจีนบ้างบางส่วน

     

    ศาสนาสมัยกรุงธนบุรี

    1.  การบูรณะและปฎิสังขรณ์วัดวาอาราม

    2.  การจัดระเบียบสังฆมณฑล

    3.  การอบรมพระไตรปิฎก

    4.  การอัญเชิญพระแก้วมรกต

    5.  มาประดิษฐ์ฐานในราชอานาจักร

     

    ความสัมพันธ์กับต่างประเทศสมัยกรุงธนบุรี

    จีน                   การค้างข้ายมักมีพ่อค้าจีนเข้ามาติดต่อขายตลอดริมทาง

    โปรตุเกส       สมัยกรุงธนบุรีมีการค้าขายกับโปรตุเกสอยู่บ้าง

               

    อังกฤษ           ปลายสมัยกรุงธนบุรีเดินทางเข้ามาค้าขายในเอเชีย

               

    พม่า                ส่วนใหญ่ไทยกับพม่าจะทำสงครามกันเกือบตลอด

                            ในสมัยกรุงธนบุรีนี้

    ลาว                 ไทยได้เมืองเวียงจันทน์และหลวงพระบางเป็นประเทศราช

               

    เขมร               แม่ทัพไปตีเขมรสามารถตีเมืองเสียมราฐและพระตะบอง

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×