ลำดับตอนที่ #2
คืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด
คุณแน่ใจว่าต้องการคืนค่าการตั้งค่าทั้งหมด ?
ลำดับตอนที่ #2 : ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศคืออะไร
ชั้นบรรยากาศคือ ชั้นของอากาศที่ล้อมรอบโลกและด้วยแรงดึงดูดของโลกทำให้ชั้นบรรยากาศคงสภาพอยู่ได้ ชั้นบรรยากาศมีความหนารวมแล้วประมาณ 310 ไมล์ อากาศในชั้นบรรยากาศแต่ละชั้นจะแตกต่างกัน แต่ในทุก ๆชั้นล้วนเป็นส่วนสำคัญของสิ่งแวดล้อมของโลก
ชั้นบรรยากาศคืออะไร
ชั้นบรรยากาศคือ ชั้นของอากาศที่ล้อมรอบโลกและด้วยแรงดึงดูดของโลกทำให้ชั้นบรรยากาศคงสภาพอยู่ได้ ชั้นบรรยากาศมีความหนารวมแล้วประมาณ 310 ไมล์ อากาศในชั้นบรรยากาศแต่ละชั้นจะแตกต่างกัน แต่ในทุก ๆชั้นล้วนเป็นส่วนสำคัญของสิ่งแวดล้อมของโลก
การแบ่งชั้นบรรยากาศสามารถแบ่งออกได้ 4 แบบ ดังต่อไปนี้
1. แบ่งชั้นบรรยากาศตามลักษณะและระดับความสูง
2. แบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์
3.แบ่งชั้fนบรรยากาศโดยใช้ก๊าซเป็นเกณฑ์
4. แบ่งชั้นบรรยากาศทางอุตุนิยมวิทยา
1. แบ่งชั้นบรรยากาศตามลักษณะและระดับความสูง
2. แบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์
3.แบ่งชั้fนบรรยากาศโดยใช้ก๊าซเป็นเกณฑ์
4. แบ่งชั้นบรรยากาศทางอุตุนิยมวิทยา
1. แบ่งชั้นบรรยากาศตามลักษณะและระดับความสูงแบ่งได้ 2 ส่วน คือ
1. ชั้นบรรยากาศส่วนล่างเป็นส่วนที่อยู่ใกล้ผิวโลกอุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงทุกระยะที่สูงขึ้น 100 เมตร อุณหภูมิจะลดลง 0.64 องศาเซลเซียสจนกว่าจะถึงบรรยากาศส่วนบน
1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere)คือ บรรยากาศชั้นล่างสุดสูงจากผิวโลก 8 - 15 กิโลเมตรมีอิทธิพลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมากที่สุดอากาศที่มนุษย์หายใจเข้าไปคืออากาศชั้นนี้ เมฆ พายุ ลม และลักษณะอากาศต่าง ๆ เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นนี้ อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้งและรวดเร็วกว่าบรรยากาศชั้นอื่น ๆ
2. สตราโตสเฟียร์ (Stratosphere)ความสูง 15 - 50 กิโลเมตร บรรยากาศชั้นนี้มีก๊าซโอโซนเป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย และก๊าซโอโซนนี้เองที่ทำหน้าที่ดูดซับรังสีอุลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นรังสีอันตรายต่อผิวหนังของมนุษย์และพืช ไม่ให้ส่องลงมากระทบถึงพื้นโลก ก๊าซชนิดนี้เกิดจากการที่โมเลกุลของก๊าซออกซิเจนแตกตัวและจัดรูปแบบขึ้นใหม่เมื่อถูกรังสีจากดวงอาทิตย์ช่วยดูดซับรังสีเหนือม่วง ของแสงอาทิตย์ทำให้บรรยากาศอุ่นขึ้นเครื่องบินไอพ่นจะบินในชั้นนี้เนื่องจากมีทัศนวิสัยดี
3. มีโซสเฟียร์ (Mesosphere)สูงจากพื้นดิน 50 - 80 กิโลเมตรเหนือชั้นโอโซนอุณหภูมิจะลดลงตามความสูงที่เพิ่มขึ้นโดยอาจต่ำได้ถึง 83 องศาเซลเซียสอุกกาบาตหรือชิ้นส่วนหินจากอวกาศที่ตกลงมามักถูกเผาไหม้ในชั้นนี้ การส่งคลื่นวิทยุทั่วๆไปก็ส่งในชั้นนี้เช่นกัน
2. บรรยากาศส่วนบนมีคุณสมบัติตรงข้ามกับบรรยากาศส่วนล่าง คือแทนที่อุณหภูมิจะต่ำลงแต่กลับสูงขึ้นและยิ่งสูงยิ่งร้อน มากบรรยากาศส่วนนี้จำแนกเป็น 3 ชั้นเช่นกัน คือ
1. เทอร์โมสเฟียร์ (Thermosphere)สูง 80 - 450 กิโลเมตรความหนาแน่นของอากาศจะลดลงอย่างรวดเร็วแต่อุณหภูมิจะสูงขึ้นมาก ซึ่งอาจสูงกว่า 1,000 องศาเซลเซียสสามารถส่งวิทยุคลื่นยาวกว่า 17 เมตรไปได้ทั่วโลกโดยส่งสัญญาณจากพื้นโลกให้คลื่นสะท้อนกับชั้นไอออนของก๊าซไนโตรเจนและออกซิเจนซึ่งถูกรังสีเหนือม่วงและรังสีเอกซ์ทำให้แตกตัว
2. เอกโซสเฟียร์ (Exsphere)บรรยากาศชั้นนี้สูงจากพื้นโลกประมาณ 450 - 900 กิโลเมตร มีก๊าซอยู่น้อยมากมนุษย์อวกาศจะต้องควบคุมบรรยากาศให้มีความดันเท่ากับความดันภายในร่างกายต้องสวมใส่ชุดที่มีก๊าซออกซิเจนเพื่อช่วยในการหายใจดาวเทียมพยากรณ์อากาศจะโคจรรอบโลกในชั้นนี้
3. แมกเนโตสเฟียร์ (Magnetosphere)ชั้นนี้มีความสูงมากกว่า 900 กิโลเมตรไม่มีก๊าซใดๆ อยู่เลย
1. ชั้นบรรยากาศส่วนล่างเป็นส่วนที่อยู่ใกล้ผิวโลกอุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงทุกระยะที่สูงขึ้น 100 เมตร อุณหภูมิจะลดลง 0.64 องศาเซลเซียสจนกว่าจะถึงบรรยากาศส่วนบน
1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere)คือ บรรยากาศชั้นล่างสุดสูงจากผิวโลก 8 - 15 กิโลเมตรมีอิทธิพลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมากที่สุดอากาศที่มนุษย์หายใจเข้าไปคืออากาศชั้นนี้ เมฆ พายุ ลม และลักษณะอากาศต่าง ๆ เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นนี้ อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้งและรวดเร็วกว่าบรรยากาศชั้นอื่น ๆ
2. สตราโตสเฟียร์ (Stratosphere)ความสูง 15 - 50 กิโลเมตร บรรยากาศชั้นนี้มีก๊าซโอโซนเป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย และก๊าซโอโซนนี้เองที่ทำหน้าที่ดูดซับรังสีอุลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นรังสีอันตรายต่อผิวหนังของมนุษย์และพืช ไม่ให้ส่องลงมากระทบถึงพื้นโลก ก๊าซชนิดนี้เกิดจากการที่โมเลกุลของก๊าซออกซิเจนแตกตัวและจัดรูปแบบขึ้นใหม่เมื่อถูกรังสีจากดวงอาทิตย์ช่วยดูดซับรังสีเหนือม่วง ของแสงอาทิตย์ทำให้บรรยากาศอุ่นขึ้นเครื่องบินไอพ่นจะบินในชั้นนี้เนื่องจากมีทัศนวิสัยดี
3. มีโซสเฟียร์ (Mesosphere)สูงจากพื้นดิน 50 - 80 กิโลเมตรเหนือชั้นโอโซนอุณหภูมิจะลดลงตามความสูงที่เพิ่มขึ้นโดยอาจต่ำได้ถึง 83 องศาเซลเซียสอุกกาบาตหรือชิ้นส่วนหินจากอวกาศที่ตกลงมามักถูกเผาไหม้ในชั้นนี้ การส่งคลื่นวิทยุทั่วๆไปก็ส่งในชั้นนี้เช่นกัน
2. บรรยากาศส่วนบนมีคุณสมบัติตรงข้ามกับบรรยากาศส่วนล่าง คือแทนที่อุณหภูมิจะต่ำลงแต่กลับสูงขึ้นและยิ่งสูงยิ่งร้อน มากบรรยากาศส่วนนี้จำแนกเป็น 3 ชั้นเช่นกัน คือ
1. เทอร์โมสเฟียร์ (Thermosphere)สูง 80 - 450 กิโลเมตรความหนาแน่นของอากาศจะลดลงอย่างรวดเร็วแต่อุณหภูมิจะสูงขึ้นมาก ซึ่งอาจสูงกว่า 1,000 องศาเซลเซียสสามารถส่งวิทยุคลื่นยาวกว่า 17 เมตรไปได้ทั่วโลกโดยส่งสัญญาณจากพื้นโลกให้คลื่นสะท้อนกับชั้นไอออนของก๊าซไนโตรเจนและออกซิเจนซึ่งถูกรังสีเหนือม่วงและรังสีเอกซ์ทำให้แตกตัว
2. เอกโซสเฟียร์ (Exsphere)บรรยากาศชั้นนี้สูงจากพื้นโลกประมาณ 450 - 900 กิโลเมตร มีก๊าซอยู่น้อยมากมนุษย์อวกาศจะต้องควบคุมบรรยากาศให้มีความดันเท่ากับความดันภายในร่างกายต้องสวมใส่ชุดที่มีก๊าซออกซิเจนเพื่อช่วยในการหายใจดาวเทียมพยากรณ์อากาศจะโคจรรอบโลกในชั้นนี้
3. แมกเนโตสเฟียร์ (Magnetosphere)ชั้นนี้มีความสูงมากกว่า 900 กิโลเมตรไม่มีก๊าซใดๆ อยู่เลย
2. แบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์แบ่งได้ 4 ชั้นดังนี้
1. โทรโพสเฟียร์ (Troposhere)อยู่ระหว่าง 0-10 กม.โดยอุณหภูมิจะค่อยๆลดลงตามความสูง โดยเฉลี่ยกม.ละ 6.5องศา c เป็นชั้นที่สำคัญมากเพราะเป็นบริเวณที่มีไอนำ เมฆ หมอก และพายุ
2. สตราโตสเฟียร์ (Stratoshere)อยู่ระหว่างความสูง 10-50 กม.เป็นชั้นที่ไม่มีเมฆ มักใช้ในการเดินทางทางอากาศ โดยอุณหภูมิจะคงที่ จนถึงความสูง 50 กม. และจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในอัตรา0.5 องศา c ต่อ1กม.
3. เมโซสเฟียร์ (Mesosphere) เป็นชั้นบรรยากาศระหว่าง 50-80 กม. โดยอุณหภูมิจะลดลงตามความสูง
4. เทอร์โมสเฟียร์(Thermoshere)ตั้งแต่ 80-500กม.อุณหภูมิจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงแรกแล้วอัตราการสูงขึ้นจะลดลงอุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 227-1727 องศา c โดยชั้นนี้จะมีความหนาแน่นของอนุภาคต่างๆจางมาก แต่ก๊าซต่างๆในชั้นนี้จะอยู่ในลักษณะที่เป็นอนุภาคที่เป็นประจุไฟฟ้าเรียกว่า อิออนสามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้บรรยากาศในชั้นนี้ถือเป็นบริเวณที่เปลี่ยนจากบรรยากาศของโลกมาเป็นก๊าซระหว่างดาวที่เบาบางและเป็นชั้นนอกสุดของบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก เรียกว่า เอกโซสเฟียร์
นอกจากนี้ ยังเรียก ชั้นโฮโมสเฟียร์ คือ ชื่อเรียกบรรยากาศชั้น โทรโพรสเฟียร์สตราโตสเฟียร์และมีโซสเฟียร์รวมกัน
1. โทรโพสเฟียร์ (Troposhere)อยู่ระหว่าง 0-10 กม.โดยอุณหภูมิจะค่อยๆลดลงตามความสูง โดยเฉลี่ยกม.ละ 6.5องศา c เป็นชั้นที่สำคัญมากเพราะเป็นบริเวณที่มีไอนำ เมฆ หมอก และพายุ
2. สตราโตสเฟียร์ (Stratoshere)อยู่ระหว่างความสูง 10-50 กม.เป็นชั้นที่ไม่มีเมฆ มักใช้ในการเดินทางทางอากาศ โดยอุณหภูมิจะคงที่ จนถึงความสูง 50 กม. และจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในอัตรา0.5 องศา c ต่อ1กม.
3. เมโซสเฟียร์ (Mesosphere) เป็นชั้นบรรยากาศระหว่าง 50-80 กม. โดยอุณหภูมิจะลดลงตามความสูง
4. เทอร์โมสเฟียร์(Thermoshere)ตั้งแต่ 80-500กม.อุณหภูมิจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงแรกแล้วอัตราการสูงขึ้นจะลดลงอุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 227-1727 องศา c โดยชั้นนี้จะมีความหนาแน่นของอนุภาคต่างๆจางมาก แต่ก๊าซต่างๆในชั้นนี้จะอยู่ในลักษณะที่เป็นอนุภาคที่เป็นประจุไฟฟ้าเรียกว่า อิออนสามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้บรรยากาศในชั้นนี้ถือเป็นบริเวณที่เปลี่ยนจากบรรยากาศของโลกมาเป็นก๊าซระหว่างดาวที่เบาบางและเป็นชั้นนอกสุดของบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก เรียกว่า เอกโซสเฟียร์
นอกจากนี้ ยังเรียก ชั้นโฮโมสเฟียร์ คือ ชื่อเรียกบรรยากาศชั้น โทรโพรสเฟียร์สตราโตสเฟียร์และมีโซสเฟียร์รวมกัน
3. แบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้ก๊าซเป็นเกณฑ์แบ่งได้ 4 ชั้น คือ
1. โทรโพสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ติดกับพื้นโลก สูง 0-10 กม.มีก๊าซที่สำคัญคือ ไอน้ำ
2. โอโซโนสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศสูง10-50 กม. มีก๊าซที่สำคัญคือ โอโซน
3. ไอโอโนสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศสูง 80-600 กม. มีสิ่งที่สำคัญคือ อิออน
4. เอกโซเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศซึ่งสูงตั้งแต่ 600 กม. ขึ้นไป โดยความหนาแน่นของอะตอมต่างๆมีค่าน้อยลง
1. โทรโพสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ติดกับพื้นโลก สูง 0-10 กม.มีก๊าซที่สำคัญคือ ไอน้ำ
2. โอโซโนสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศสูง10-50 กม. มีก๊าซที่สำคัญคือ โอโซน
3. ไอโอโนสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศสูง 80-600 กม. มีสิ่งที่สำคัญคือ อิออน
4. เอกโซเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศซึ่งสูงตั้งแต่ 600 กม. ขึ้นไป โดยความหนาแน่นของอะตอมต่างๆมีค่าน้อยลง
4. แบ่งชั้นบรรยากาศทางอุตุนิยมวิทยาแบ่งได้ 5 ชั้น ดังนี้
1. บริเวณที่มีอิทธิพลความฝืด ระหว่าง 0-2 กม.
2. โทรโพสเฟียร์ชั้นกลางและบน อุณหภูมิจะลดลงสม่ำเสมอ ตามความสูง
3. โทรโพพอส เป็นเขตแบ่งว่า มีไอน้ำกับไม่มีไอน้ำ
4. สตราโตสเฟียร์ มีโอโซนมาก
5. บรรยากาศชั้นสูงคล้ายกับเอกโซสเฟียร์
1. บริเวณที่มีอิทธิพลความฝืด ระหว่าง 0-2 กม.
2. โทรโพสเฟียร์ชั้นกลางและบน อุณหภูมิจะลดลงสม่ำเสมอ ตามความสูง
3. โทรโพพอส เป็นเขตแบ่งว่า มีไอน้ำกับไม่มีไอน้ำ
4. สตราโตสเฟียร์ มีโอโซนมาก
5. บรรยากาศชั้นสูงคล้ายกับเอกโซสเฟียร์
เมฆ (Clouds)
“เมฆ” เป็นกลุ่มละอองน้ำที่เกิดจากการควบแน่น ซึ่งเกิดจากการยกตัวของกลุ่มอากาศ (Air parcel) ผ่านความสูงเหนือระดับควบแน่น และมีอุณหภูมิลดต่ำกว่าจุดน้ำค้าง ตัวอย่างการเกิดเมฆที่เห็นได้ชัด ได้แก่ “คอนเทรล” (Contrails) ซึ่งเป็นเมฆที่สร้างขึ้นโดยฝีมือมนุษย์ เมื่อเครื่องบินไอพ่นบินอยู่ในระดับสูงเหนือระดับควบแน่น ไอน้ำซึ่งอยู่ในอากาศร้อนที่พ่นออกมาจากเครื่องยนต์ ปะทะเข้ากับอากาศเย็นซึ่งอยู่ภายนอก เกิดการควบแน่นเป็นหยดน้ำ โดยการจับตัวกับเขม่าควันจากเครื่องยนต์ซึ่งทำหน้าที่เป็นแกนควบแน่น เราจึงมองเห็นควันเมฆสีขาวถูกพ่นออกมาทางท้ายของเครื่องยนต์เป็นทางยาว
ในการสร้างฝนเทียมก็เช่นกัน เครื่องบินทำการโปรยสารเคมี “ซิลเวอร์ไอโอไดด์” (Silver Iodide) เพื่อทำหน้าที่เป็นแกนควบแน่น เพื่อให้ไอน้ำในอากาศมาจับตัว และควบแน่นเป็นเมฆ
“เมฆ” เป็นกลุ่มละอองน้ำที่เกิดจากการควบแน่น ซึ่งเกิดจากการยกตัวของกลุ่มอากาศ (Air parcel) ผ่านความสูงเหนือระดับควบแน่น และมีอุณหภูมิลดต่ำกว่าจุดน้ำค้าง ตัวอย่างการเกิดเมฆที่เห็นได้ชัด ได้แก่ “คอนเทรล” (Contrails) ซึ่งเป็นเมฆที่สร้างขึ้นโดยฝีมือมนุษย์ เมื่อเครื่องบินไอพ่นบินอยู่ในระดับสูงเหนือระดับควบแน่น ไอน้ำซึ่งอยู่ในอากาศร้อนที่พ่นออกมาจากเครื่องยนต์ ปะทะเข้ากับอากาศเย็นซึ่งอยู่ภายนอก เกิดการควบแน่นเป็นหยดน้ำ โดยการจับตัวกับเขม่าควันจากเครื่องยนต์ซึ่งทำหน้าที่เป็นแกนควบแน่น เราจึงมองเห็นควันเมฆสีขาวถูกพ่นออกมาทางท้ายของเครื่องยนต์เป็นทางยาว
ในการสร้างฝนเทียมก็เช่นกัน เครื่องบินทำการโปรยสารเคมี “ซิลเวอร์ไอโอไดด์” (Silver Iodide) เพื่อทำหน้าที่เป็นแกนควบแน่น เพื่อให้ไอน้ำในอากาศมาจับตัว และควบแน่นเป็นเมฆ
ภาพที่ 2 “คอนเทรล” เมฆซึ่งเกิดขึ้นจากไอพ่นเครื่องบิน
การเรียกชื่อเมฆ
เมฆซึ่งเกิดขึ้นในธรรมชาติมี 2 รูปร่างลักษณะคือ เมฆก้อน และเมฆแผ่น เราเรียกเมฆก้อนว่า “เมฆคิวมูลัส” (Cumulus) และเรียกเมฆแผ่นว่า “เมฆสเตรตัส” (Stratus) หากเมฆก้อนลอยชิดติดกัน เรานำชื่อทั้งสองมารวมกัน และเรียกว่า “เมฆสเตรโตคิวมูลัส” (Stratocumulus) ในกรณีที่เป็นเมฆฝน เราจะเพิ่มคำว่า “นิมโบ” หรือ “นิมบัส” ซึ่งแปลว่า “ฝน” เข้าไป เช่น เราเรียกเมฆก้อนที่มีฝนตกว่า “เมฆคิวมูโลนิมบัส” (Cumulonimbus) และเรียกเมฆแผ่นที่มีฝนตกว่า “เมฆนิมโบสเตรตัส” (Nimbostratus)
เราแบ่งเมฆออกเป็น 3 ระดับ คือ เมฆชั้นสูง เมฆชั้นกลาง และเมฆชั้นต่ำ
หากเป็นเมฆชั้นกลาง (2 - 6 กิโลเมตร) เราจะเติมคำว่า “อัลโต” ซึ่งแปลว่า “ชั้นกลาง” ไว้ข้างหน้า เช่น เราเรียกเมฆก้อนชั้นกลางว่า “เมฆอัลโตคิวมูลัส” (Altocumulus) และเรียกเมฆแผ่นชั้นกลางว่า “เมฆอัลโตสเตรตัส” (Altostratus)
หากเป็นเมฆชั้นสูง (2 - 6 กิโลเมตร) เราจะเติมคำว่า “เซอโร” ซึ่งแปลว่า “ชั้นสูง” ไว้ข้างหน้า เช่น เราเรียกเมฆก้อน
ชั้นสูงว่า “เมฆเซอโรคิวมูลัส” (Cirrocumulus) เรียกเมฆแผ่นชั้นสูงว่า “เมฆเซอโรสเตรตัส” (Cirrostratus) และเรียกชั้นสูงที่มีรูปร่างเหมือนขนนกว่า “เมฆเซอรัส” (Cirrus)
เมฆซึ่งเกิดขึ้นในธรรมชาติมี 2 รูปร่างลักษณะคือ เมฆก้อน และเมฆแผ่น เราเรียกเมฆก้อนว่า “เมฆคิวมูลัส” (Cumulus) และเรียกเมฆแผ่นว่า “เมฆสเตรตัส” (Stratus) หากเมฆก้อนลอยชิดติดกัน เรานำชื่อทั้งสองมารวมกัน และเรียกว่า “เมฆสเตรโตคิวมูลัส” (Stratocumulus) ในกรณีที่เป็นเมฆฝน เราจะเพิ่มคำว่า “นิมโบ” หรือ “นิมบัส” ซึ่งแปลว่า “ฝน” เข้าไป เช่น เราเรียกเมฆก้อนที่มีฝนตกว่า “เมฆคิวมูโลนิมบัส” (Cumulonimbus) และเรียกเมฆแผ่นที่มีฝนตกว่า “เมฆนิมโบสเตรตัส” (Nimbostratus)
เราแบ่งเมฆออกเป็น 3 ระดับ คือ เมฆชั้นสูง เมฆชั้นกลาง และเมฆชั้นต่ำ
หากเป็นเมฆชั้นกลาง (2 - 6 กิโลเมตร) เราจะเติมคำว่า “อัลโต” ซึ่งแปลว่า “ชั้นกลาง” ไว้ข้างหน้า เช่น เราเรียกเมฆก้อนชั้นกลางว่า “เมฆอัลโตคิวมูลัส” (Altocumulus) และเรียกเมฆแผ่นชั้นกลางว่า “เมฆอัลโตสเตรตัส” (Altostratus)
หากเป็นเมฆชั้นสูง (2 - 6 กิโลเมตร) เราจะเติมคำว่า “เซอโร” ซึ่งแปลว่า “ชั้นสูง” ไว้ข้างหน้า เช่น เราเรียกเมฆก้อน
ชั้นสูงว่า “เมฆเซอโรคิวมูลัส” (Cirrocumulus) เรียกเมฆแผ่นชั้นสูงว่า “เมฆเซอโรสเตรตัส” (Cirrostratus) และเรียกชั้นสูงที่มีรูปร่างเหมือนขนนกว่า “เมฆเซอรัส” (Cirrus)
ภาพที่ 3 ผังแสดงการเรียกชื่อเมฆ
ประเภทของเมฆ
นักอุตุนิยมวิทยา แบ่งเมฆออกเป็นทั้งสิบชนิดออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
นักอุตุนิยมวิทยา แบ่งเมฆออกเป็นทั้งสิบชนิดออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
เมฆชั้นสูง (High Clouds) เกิดขึ้นที่ระดับสูงมากกว่า 6 กิโลเมตร
เมฆเซอโรคิวมูลัส (Cirrocumulus) เมฆสีขาว เป็นผลึกน้ำแข็ง มีลักษณะเป็นริ้วคลื่นเล็กๆ มักเกิดขึ้นปกคลุมท้องฟ้าบริเวณกว้าง | |
เมฆเซอโรสเตรตัส (Cirrostratus) เมฆแผ่นบาง สีขาว เป็นผลึกน้ำแข็ง ปกคลุมท้องฟ้าเป็นบริเวณกว้าง โปร่งแสงต่อแสงอาทิตย์ บางครั้งหักเหแสง ทำให้เกิดดวงอาทิตย์ทรงกลด และดวงจันทร์ทรงกลด เป็นรูปวงกลม สีคล้ายรุ้ง | |
เมฆเซอรัส (Cirrus) เมฆริ้ว สีขาว รูปร่างคล้ายขนนก เป็นผลึกน้ำแข็ง มักเกิดขึ้นในวันที่มีอากาศดี ท้องฟ้าเป็นสีฟ้าเข้ม |
เมฆชั้นกลาง (Middle Clouds) เกิดขึ้นที่ระดับสูง 2 - 6 กิโลเมตร
เมฆอัลโตคิวมูลัส (Altocumulus) เมฆก้อน สีขาว มีลักษณะคล้ายฝูงแกะ ลอยเป็นแพ มีช่องว่างระหว่างก้อนเล็กน้อย | |
เมฆอัลโตสเตรตัส (Altostratus) เมฆแผ่นหนา ส่วนมากมักมีสีเทา เนื่องจากบังแสงดวงอาทิตย์ ไม่ให้ลอดผ่าน และเกิดขึ้นปกคลุมท้องฟ้าเป็นบริเวณกว้างมาก หรือปกคลุมท้องฟ้าทั้งหมด |
เมฆชั้นต่ำ (Low Clouds) เกิดขึ้นที่ระดับต่ำกว่า 2 กิโลเมตร
เมฆสเตรตัส (Stratus) เมฆแผ่นบาง ลอยสูงเหนือพื้นไม่มากนัก เช่น ลอยปกคลุมยอดเขามักเกิดขึ้นตอนเช้า หรือหลังฝนตก บางครั้งลอยต่ำปกคลุมพื้นดิน เราเรียกว่า “หมอก” | |
เมฆสเตรโตคิวมูลัส (Stratocumulus) เมฆก้อน ลอยติดกันเป็นแพ ไม่มีรูปทรงที่ชัดเจน มีช่องว่างระหว่างก้อนเพียงเล็กน้อย มักเกิดขึ้นเวลาที่อากาศไม่ดี และมีสีเทา เนื่องจากลอยอยู่ในเงาของเมฆชั้นบน | |
เมฆนิมโบสเตรตัส (Nimbostratus) เมฆแผ่นสีเทา เกิดขึ้นเวลาที่อากาศมีเสถียรภาพ ทำให้เกิดฝนพรำๆ ฝนผ่าน หรือฝนตกแดดออก ไม่มีพายุฝนฟ้าคะนอง ฟ้าร้องฟ้าผ่ามักปรากฏให้เห็นสายฝนตกลงมาจากฐานเมฆ |
เมฆก่อตัวในแนวตั้ง (Clouds of Vertical Development)
เมฆคิวมูลัส (Cumulus) เมฆก้อนปุกปุย สีขาวเป็นรูปกะหล่ำ ก่อตัวในแนวตั้ง เกิดขึ้นจากอากาศไม่มีเสถียรภาพ ฐานเมฆเป็นสีเทาเนื่องจากมีความหนามากพอที่จะบดบังแสง จนทำให้เกิดเงา มักปรากฏให้เห็นเวลาอากาศดี ท้องฟ้าเป็นสีฟ้าเข้ม | |
เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) เมฆก่อตัวในแนวตั้ง พัฒนามาจากเมฆคิวมูลัส มีขนาดใหญ่มากปกคลุมพื้นที่ครอบคลุมทั้งจังหวัด ทำให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง หากกระแสลมชั้นบนพัดแรง ก็จะทำให้ยอดเมฆรูปกะหล่ำ กลายเป็นรูปทั่งตีเหล็ก ต่อยอดออกมาเป็น เมฆเซอโรสเตรตัส หรือเมฆเซอรัส |
| |
|
รูโหว่โอโซน
การที่ขนาดของรูโอโซนเริ่มปรากฏว่ามีควา
ก็แสดงให้เห็นว่า มาตรการลดการผลิต Chlorofluorocarbon(CFC) เริ่มปรากฏผลในทางที่ดีให้เห็นได้เป็นครั้
เนื่องจาก CFC สามารถทนอยู่ในบรรยากาศได้เป็นเวลานานมากแม้เราตัดการผลิตทั้งหมดบนโลกอย่างปุปปับว
กว่าจะเห็นผลที่แท้จริงก็ต้องเป็นอวลาอย่า
หากเราสามารถรักษามาตรการลดการผลิต CFC ไปเรื่อยๆแล้วขนาดของรูโอโซนคงจะเริ่มหดตัวลงในไม่ช้านี หากไม่มีเหตุการณ์สุดวิสัยทางธรรมชาติเช่นการระเบิดภูเขาไฟ ที่พ่นละอองของเหล็วเล็กๆ ที่เรียกว่า aerosol ขึ้นไปในบรรยากาศเป็นจำนวนมาก จนไปช่วยเพิ่มอัตราการทำงานโอโซนในธรรมชาต เราก็คงจะได้เห็นการฟื้นตัวของโอโซนอีกในไ
**รูโหว่โอโซนนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับโลกร
เกี่ยวข้องแน่นอนเพราะมีรายงานว่ามีการตรวจสอบสภาวะเรือนกร 2006 ที่ผ่านมาพบว่า
กลุ่มโอโซนเป็นช่องโหว่(ภาษาสวีดิชใช้คำ ขยายตัวเป็นวงกว้างถึง 27.4 ล้านตารางกิโลเมตรเปรียบเทียบให้ดูง่ายๆคือคงจะใหญ่กว่าประเ
โลกของเรามีก๊าซต่าง ๆในชั้นบรรยากาศห่อหุ้มอยู่โดยรอบ ทำหน้าที่คล้ายเรือนกระจกหรือกรีนเฮาส์เป็ ทำให้โลกมีอุณหภูมิพอเหมาะสำหรับการดำรงชี
แต่ในปัจจุบันมนุษย์กำลังเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกอย่า ๆที่สามารถทำลายเกราะป้องกันของโลกทำให้เกิ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4)
ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC8) และก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) เป็นต้น
และก๊าซเหล่านี้บางยังก่อให้เกิดปรากฎกา GREENHOUSE EFFECT
โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่ชั้นบร ซึ่งจะทำให้อุณหภูมิอากาศของโลกสูงขึ้นส่ง ๆและมหาสมุทรจะขยายตัวจนเกิดน้ำท่วมได้ในอน
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก( GREENHOUSE EFFECT ) เป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ
ก่อมลพิษทางอากาศ
ทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนซึ่งปกป้องผิวโลก
ก่อให้เกิดสภาวะโลกร้อนอันเนื่องมาจากอุ
และการทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนนี่เองที่ม เกิดรูโหว่ของชั้นบรรยากาศโอโซน ที่เรียกว่า"รูโอโซน" ขยายตัวเป็นวงกว้าง
ถึง 27.4 ล้านตารางกิโลเมตรเปรียบเทียบให้ดูง่ายๆคื
สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC)
สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอนเรียกสั้นๆ ว่า “สาร CFC” หรืออีกชื่อหนึ่ง “ฟรีออน” (Freon) เป็นสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ มิได้เกิดเองตามธรรมชาติหากแต่มีแหล่งกำเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน เช่นตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ และสเปรย์ สาร CFC มีองค์ประกอบเป็น คลอรีน ฟลูออไรด์และโบรมีน ซึ่งมีความสามารถในการทำลายโอโซน ตามปกติสาร CFC ในบริเวณพื้นผิวโลกจะทำปฏิกิริยากับสารอื่ แต่เมื่อมันดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตในบ โมเลกุลจะแตกตัวให้คลอรีนอะตอมเดี่ยวและทำปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน เกิดก๊าซคลอรีนโมโนออกไซด์ (ClO) และก๊าซออกซิเจน
ถ้าหากคลอรีนจำนวน 1 อะตอมทำลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุลได้เพียงครั้งเดียวก็คงไม่เป็นปัญหา แต่ทว่าคลอรีน 1 อะตอม สามารถทำลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุลได้นับพันครั้ง เนื่องจากเมื่อคลอรีนโมโนออกไซด์ทำปฏิกิริ แล้วเกิดคลอรีนอะตอมเดี่ยวขึ้นอีกครั้ง ปฏิกิริยาลูกโซ่เช่นนี้จึงเป็นการทำลายโอโ
การลดลงของโอโซน
นักวิทยาศาสตร์ได้ตรวจพบรูโหว่ขนาดใหญ่ของ บริเวณขั้วโลกใต้ เกิดขึ้นจากกระแสลมพัดคลอรีนเข้ามาสะสมในก ในช่วงฤดูหนาวเดือนพฤษภาคม กันยายน (ขั้วโลกเหนือไม่มีเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์เนื่องจากอุณหภูมิไม่ต่ำพอที่จะทำให้เกิดก เมื่อถึงเดือนตุลาคมซึ่งแสงอาทิตย์กระทบเข้ากับก้อนเมฆ ทำให้คลอรีนอะตอมอิสระแยกตัวออกและทำปฏิกิ ทำให้เกิดรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซน ซึ่งเรียกว่า “รูโอโซน” (Ozone hole)
***รูโหว่โอโซนมีส่วนทำให้น้ำในโลกระเหยออกไปนอกอวกาศหรื
รูโหว่โอโซนไม่ได้ทำให้น้ำในโลกระเหยออก แต่โอโซนทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้รังสีที่เป ทำหน้าที่กรองรังสีอุลตราไวโอเล็ตจากดวงอา 99% ก่อนถึงพื้นโลกถ้ามีรูโหว่แสงอาทิตย์ก็จะส่องลงมายังพื้น หากร่างกายมนุษย์ได้รับรังสีนี้มากเกินไป จะทำให้เกิดมะเร็งผิวหนังส่วนจุลินทรีย์ขนาดเล็ก เช่น แบคทีเรีย จะถูกฆ่าตาย
ที่เราเรียกว่า รูโอโซนคือระดับที่ต่ำของปริมาตรโอโซน ในบรรยากาศการสูญเสียโอโซนในบรรยากาศระดับ เป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วง
เพราะว่า โอโซนช่วยดูดซับรังสียูวีที่เป็นอันตรายต่อสิ่ง จะทำให้ผิวหนังของมนุษย์มีโอกาสเสี่ยงต่อก สูงขึ้น
รูรั่วของโอโซนมีผมต่อจุลินทร์ชีพ ถ้าจุลินทรีตาย ก็เรื่องใหญ่มากห่วงโซ่อาหารขาดสะบั้น
มนุษย์คงจะมีปัญหาในการดำรงชีพแน่นอน
จากรายงานการประเมินโอโซนในปีค.ศ. 1991 พบค่าโอโซนต่ำลงในฤดูร้อนด้วย
และเมื่อผู้คนอยู่กลางแจ้งจะได้รับแสงอั และในปีหลังๆ พบว่ามีปัญหาสุขภาพมากขึ้น หากมีรังสียูวีเล็ดรอดลงมาบนโลกได้มากขึ้น
หากเราสามารถรักษามาตรการลดการผลิต CFC ไปเรื่อยๆแล้วขนาดของรูโอโซนคงจะเริ่มหดตัวลงในไม่ช้านี หากไม่มีเหตุการณ์สุดวิสัยทางธรรมชาติเช่นการระเบิดภูเขาไฟ ที่พ่นละอองของเหล็วเล็กๆ ที่เรียกว่า aerosol ขึ้นไปในบรรยากาศเป็นจำนวนมาก จนไปช่วยเพิ่มอัตราการทำงานโอโซนในธรรมชาต เราก็คงจะได้เห็นการฟื้นตัวของโอโซนอีกในไ
**รูโหว่โอโซนนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับโลกร
เกี่ยวข้องแน่นอนเพราะมีรายงานว่ามีการตรวจสอบสภาวะเรือนกร 2006 ที่ผ่านมาพบว่า
กลุ่มโอโซนเป็นช่องโหว่(ภาษาสวีดิชใช้คำ ขยายตัวเป็นวงกว้างถึง 27.4 ล้านตารางกิโลเมตรเปรียบเทียบให้ดูง่ายๆคือคงจะใหญ่กว่าประเ
โลกของเรามีก๊าซต่าง ๆในชั้นบรรยากาศห่อหุ้มอยู่โดยรอบ ทำหน้าที่คล้ายเรือนกระจกหรือกรีนเฮาส์เป็ ทำให้โลกมีอุณหภูมิพอเหมาะสำหรับการดำรงชี
แต่ในปัจจุบันมนุษย์กำลังเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกอย่า ๆที่สามารถทำลายเกราะป้องกันของโลกทำให้เกิ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4)
ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC8) และก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) เป็นต้น
และก๊าซเหล่านี้บางยังก่อให้เกิดปรากฎกา GREENHOUSE EFFECT
โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่ชั้นบร ซึ่งจะทำให้อุณหภูมิอากาศของโลกสูงขึ้นส่ง ๆและมหาสมุทรจะขยายตัวจนเกิดน้ำท่วมได้ในอน
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก( GREENHOUSE EFFECT ) เป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ
ก่อมลพิษทางอากาศ
ทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนซึ่งปกป้องผิวโลก
ก่อให้เกิดสภาวะโลกร้อนอันเนื่องมาจากอุ
และการทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนนี่เองที่ม เกิดรูโหว่ของชั้นบรรยากาศโอโซน ที่เรียกว่า"รูโอโซน" ขยายตัวเป็นวงกว้าง
ถึง 27.4 ล้านตารางกิโลเมตรเปรียบเทียบให้ดูง่ายๆคื
สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC)
สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอนเรียกสั้นๆ ว่า “สาร CFC” หรืออีกชื่อหนึ่ง “ฟรีออน” (Freon) เป็นสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ มิได้เกิดเองตามธรรมชาติหากแต่มีแหล่งกำเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน เช่นตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ และสเปรย์ สาร CFC มีองค์ประกอบเป็น คลอรีน ฟลูออไรด์และโบรมีน ซึ่งมีความสามารถในการทำลายโอโซน ตามปกติสาร CFC ในบริเวณพื้นผิวโลกจะทำปฏิกิริยากับสารอื่ แต่เมื่อมันดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตในบ โมเลกุลจะแตกตัวให้คลอรีนอะตอมเดี่ยวและทำปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน เกิดก๊าซคลอรีนโมโนออกไซด์ (ClO) และก๊าซออกซิเจน
ถ้าหากคลอรีนจำนวน 1 อะตอมทำลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุลได้เพียงครั้งเดียวก็คงไม่เป็นปัญหา แต่ทว่าคลอรีน 1 อะตอม สามารถทำลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุลได้นับพันครั้ง เนื่องจากเมื่อคลอรีนโมโนออกไซด์ทำปฏิกิริ แล้วเกิดคลอรีนอะตอมเดี่ยวขึ้นอีกครั้ง ปฏิกิริยาลูกโซ่เช่นนี้จึงเป็นการทำลายโอโ
การลดลงของโอโซน
นักวิทยาศาสตร์ได้ตรวจพบรูโหว่ขนาดใหญ่ของ บริเวณขั้วโลกใต้ เกิดขึ้นจากกระแสลมพัดคลอรีนเข้ามาสะสมในก ในช่วงฤดูหนาวเดือนพฤษภาคม กันยายน (ขั้วโลกเหนือไม่มีเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์เนื่องจากอุณหภูมิไม่ต่ำพอที่จะทำให้เกิดก เมื่อถึงเดือนตุลาคมซึ่งแสงอาทิตย์กระทบเข้ากับก้อนเมฆ ทำให้คลอรีนอะตอมอิสระแยกตัวออกและทำปฏิกิ ทำให้เกิดรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซน ซึ่งเรียกว่า “รูโอโซน” (Ozone hole)
***รูโหว่โอโซนมีส่วนทำให้น้ำในโลกระเหยออกไปนอกอวกาศหรื
รูโหว่โอโซนไม่ได้ทำให้น้ำในโลกระเหยออก แต่โอโซนทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้รังสีที่เป ทำหน้าที่กรองรังสีอุลตราไวโอเล็ตจากดวงอา 99% ก่อนถึงพื้นโลกถ้ามีรูโหว่แสงอาทิตย์ก็จะส่องลงมายังพื้น หากร่างกายมนุษย์ได้รับรังสีนี้มากเกินไป จะทำให้เกิดมะเร็งผิวหนังส่วนจุลินทรีย์ขนาดเล็ก เช่น แบคทีเรีย จะถูกฆ่าตาย
ที่เราเรียกว่า รูโอโซนคือระดับที่ต่ำของปริมาตรโอโซน ในบรรยากาศการสูญเสียโอโซนในบรรยากาศระดับ เป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วง
เพราะว่า โอโซนช่วยดูดซับรังสียูวีที่เป็นอันตรายต่อสิ่ง จะทำให้ผิวหนังของมนุษย์มีโอกาสเสี่ยงต่อก สูงขึ้น
รูรั่วของโอโซนมีผมต่อจุลินทร์ชีพ ถ้าจุลินทรีตาย ก็เรื่องใหญ่มากห่วงโซ่อาหารขาดสะบั้น
มนุษย์คงจะมีปัญหาในการดำรงชีพแน่นอน
จากรายงานการประเมินโอโซนในปีค.ศ. 1991 พบค่าโอโซนต่ำลงในฤดูร้อนด้วย
และเมื่อผู้คนอยู่กลางแจ้งจะได้รับแสงอั และในปีหลังๆ พบว่ามีปัญหาสุขภาพมากขึ้น หากมีรังสียูวีเล็ดรอดลงมาบนโลกได้มากขึ้น
เก็บเข้าคอลเล็กชัน
ความคิดเห็น