ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    สงครามโลกและองค์กรที่จัดตั้งหลังสงคราม

    ลำดับตอนที่ #19 : • การดำเนินงานขององค์การสหประชาชาติ

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 791
      2
      29 ต.ค. 52

    การดำเนินงาน

    1.  สมัชชา (Genneral Assembly) 

    คือ  ที่ประชุมใหญ่ของผู้แทนประเทศสมาชิกทุกประเทศ
    มีสิทธิ์ออกเสียงได้ประเทศละ  1  เสียง

    2.  คณะมนตรีความมั่นคง  (Security Council) 

    มีหน้าที่ระงับกรณีพิพาทระหว่างประเทศ  และอาจใช้กำลังทหาร
    เข้าระงับกรณีพิพาทได้ ประกอบด้วยสมาชิก  15 ประเทศ มีสมาชิกถาวร  5 ชาติ
    ได้แก่ สหรัฐอเมริกา  อังกฤษ  ฝรั่งเศส  รัสเซีย และสาธารณรัฐประชาชนจีน

    3.คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม (Economic and Social Council)

    มีหน้าที่ประสานงาน  เพื่อให้เกิดความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ  สังคม
    วัฒนธรรม และมนุษยธรรมระหว่างประเทศสมาชิก

    4.คณะมนตรีภาวะทรัสตี (Trusteeship Council)

    ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาและดูแลการบริหารงานดินแดนที่อยู่ในภาวะทรัสตี
    หมายถึง  ดินแดนที่ยังปกครองตนเองไม่ได้ ยังไม่ได้รับเอกราชที่สมบูรณ์
    ซึ่งองค์การต้องให้ความคุ้มครองดูแล

    5.ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (The International Court of Justice)

    ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก  ประเทศเนเธอร์แลนด์  มีหน้าที่พิจารณาพิพากษาคดีพิพาททางกฎหมาย
    ระหว่างประเทศ  หรือที่เรียกว่า ศาลโลก  ประกอบด้วยผู้พิพากษา  15  ท่าน 

    6.สำนักงานเลขาธิการ  (The Secretariat)

    มีเลขาธิการ  เป็นผู้บริหารงานสำนักงาน  โดยได้รับแต่งตั้งจากที่ประชุมสมัชชาใหญ่
    อยู่ในตำแหน่งวาระละ 
    5  ปี  เลขาธิการคนปัจจุบัน คือ บัน คี มูน ซึ่งเป็น ชาว เกาหลีใต้

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×