ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    โรงเรียนศาสตร์มืดแห่งดาร์คแลนด์ (เปิดเทอม)

    ลำดับตอนที่ #66 : ชั้นที่ 4 ชั้นจอมขมังเวทย์เปี่ยมพลัง

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 534
      0
      18 ธ.ค. 59

    ชั้นที่ 4 ชั้นจอมขมังเวทย์เปี่ยมพลัง


    สวัสดีเหล่า "จอมขมังเวทย์เปี่ยมพลัง"
    หากเจ้าต้องการเป็นนักเวทย์ผู้เปี่ยมพลังมนตราแล้วไซร้
    ที่ห้องเรียนนี้ เจ้าจะต้องเรียนรู้ทักษะการประลองเวทย์
    ควบคุมพลังงานดินน้ำลมไฟ
    ในชั้นเรียนนี้ หากเจ้าไม่เข้าใจอันใด สามารถถามได้ที่กล่องคอมเม้นด้านล่าง










    ภารกิจ

    ภารกิจ คือ สถานการณ์จำลอง เพื่อทดสอบทักษะของท่าน
    ในชั้นนี้ มีภารกิจทั้งหมด 4 ภารกิจ ท่านจะภารกิจเหล่านี้หรือไม่ก็ได้
    และเลือกทำกี่ภารกิจก็ได้
    โดยคะเเนนจากภารกิจที่ท่านทำ จะช่วยในการสอบเพิ่มระดับของท่าน
    และเมื่อทำภารกิจเสร็จสิ้น ท่านจะไ้ด้รับรางวัล
    ท่านสามารถเลือกทำ "ภารกิจ" ต่างๆดังนี้



    ข้อควรระวัง
    อนึ่ง ระว่างการเดินทางทำภารกิจของท่าน
    ท่านอาจจะต้องแวะตามสถานที่ต่างๆ และจำเป็นต้องโพสคอมเม้น
    เมื่อท่านโพสคอมเม้น  ไม่ว่าที่ใดก็ตามในดาร์คแลนด์
    ให้แนบบัตรประ
    นักเรียนศาสตร์มืดแห่งดาร์คแลนด์ด้้วยเสมอ
    และผลการทำภารกิจของท่าน จะปรากฏที่หอพักของท่าน ทุกวันศุกร์



    การสอบเลื่อนระดับ

    หากท่านศึกษาบทเรียนในชั้นนี้จนถ่องแท้แล้ว กรุณาทำข้อสอบ
    เพื่อสอบเพิ่มระดับ...เข้าสู่ ชั้นที่ 5 ชั้น "สุดยอดปรมาจารย์"
    หากท่านสอบผ่าน จะได้รับเหรียญตราให้เข้าเรียนในชั้นต่อไป


    คลิกเพื่อทำข้อสอบเลื่อนระดับสู่ชั้นต่อไป





    บทเรียนที่ 1 การควบคุมน้ำ

    น้ำ ของเหลวลื่นไหลเปี่ยนแปงสภาพตัวเองได้ไม่ว่าจะเป็นรูปร่าง อุณหภูมิ จากของเหลดเป็นของแข็ง เป็นไอ ว่ากันว่า น้ำหมายถึงพลังของธรรมชาติ มีพลังในการชะล้าง กัดกร่อน พลังในการสร้างชีวิต หรือถาโถมทำลายทุกสิ่งที่มันไหลผ่าน การควบคุมน้ำจื่งเหมือนได้ควบคุมพลังของธรรมชาติ

    คิดถึงพลังงานที่ไหลเวียนในร่าง ทำสมาธิให้สงบ ยอมรับ และปล่อยใจให้เป็นดั่งสายน้ำ ปล่อยพลังนั้นไหลเวียน และ รวมพลังเพ่งไปที่จุดๆหนื่งเช่นมือ ไม้กายสิทธิ์ หรืออาวุธ ปลดปล่อยพลังเพื่อควบคุมกำนดรูปร่าง ให้มันสงบนิ่ง เคลื่อไหวรวบเร็วรุนแรง บีบอัดมวลน้ำ หรือให้เกาะกันแน่นเป็นก้อนน้ำแข็ง กำนดรูปแบบและ ทิศทางของพลังงานตามที่เราต้องการ จุดเด่นของน้ำคือ มันไม่มีวันสูรสลาย มันคงตัวอยู่ได้ทั้งรูปแบบของเหลว ของแข็ง และไอน้ำ และเราใช้จุดเด่นนี้เพื่อสร้างและทำลายได้ไม่สี้นสุด





    บทเรียนที่ 2 การควบคุมแผ่นดิน

    ดินคือความรัก ความเข้มแข็งของธรรมชาติ การควบคุมดินก็เหมือนวิธีที่มีปฎิสัมพันธ์กับโลก รับรู้ผืนดินที่อยู่ใต้ฝ่าเท้า ฝุ่นละอองในอากาศ เคื่อนไหวอย่าง หนักแน่น มั่นคง เด็ดขาด และ สงบ ปล่อยพลังเพ่งสมาธิเพื่อควบคุมดินให้เป็นไปตามที่เราต้องการ ไม่ว่าจะพลิกแผ่นดิน ทำลายให้เป็นผุยผง ทับถมก่อตัวเป็นเขาสูง ผสานกับความร้อนจนลุกไหม้เป็นดินเพลีง ผสานกับน้ำและแร่เพี่มความอุดม จนถึงเหลวกลายเป็นโคลนดูด หรือซับน้ำจนแห้งเป็นทะเลทราย





    บทเรียนที่ 3 การควบคุมไฟ

    ไฟคือความกราดเกี้ยวของธรรมชาติ ความรุนแรงเกรี้ยวกราด อารมณ์รักแรง เกลียดแรง ความสุข ความเศร้าที่รุนแรงที่ท่วมท้น การทำลายล้าง ไฟยังหมายถึงชีวิต ให้ชีวิต ให้ความอบอุ่นเช่นเดียวกับพระอาทิตย์
    ในการควบคุมไฟก่อนอื่นนักเรียนต้องจำไว้ว่ามันไม่ใช่สิ่งที่น่ากลัว อยากเล่นกับไฟก็จ่งอย่ากลัวไฟ การไม่กลัวไม่ได้แปลว่าต้องต้องดูถูกมัน ไม่กลัวแต่ห้ามไม่เคารพมัน เพราะเมื่อไหร่ที่พวกเจ้าไม่เคารพมัน ไฟจะจับเจ้าเคี้ยวแล้วพ่นออกมาเหลือแค่ชากเถ่าถ่าน การควบคุมไฟเกี่ยวเนื่องกับธาตุในตัวของนักเรียนแต่ละคน คนธาตุลมและไฟจะสามารถควบคุมไฟได้ง่ายกว่าคนธาตุดิน และน้ำ แต่ม่ว่าตะควบคุมยาหหรือง่าย หากไม่หมั่นฝึกฝนก็ไม่สามารถทำได้เช่นกัน

    ขั้นแรกของการฝึกนักเรียนจะไม่สามารถสร้างไฟเองได้ ต้องใช้ไฟที่มีอยู่ถายนอก (ไฟในกองไฟ เทียน, ในตะเกียง, การจุดไฟแช็คหรือไม้ขีด, ใช้คาถาเสกไฟขื้นมา...) แล้วฝึกควบคุมไฟนั้นให้ลุกแรง หรือเบา ให้มันเผาไหม้เป้าหมาย หรือพาไฟไปในทิศทางที่ต้องการ

    เมื่อชำนานในการควบคุมไฟแล้วจื่งเรี่มฝึกสร้างไฟจากพลังความร้อนในตัว และควบคุมมันเหมือนควบคุมไฟจากภายนอก เรี่มจากรวบรวมลมหายใจทำสมาธิให้มั่น ปลดปล่อยจุดกำเนีดอารมณ์ที่รุนแรงให้ไหลเวียนไปทั่วร่าง ปล่อยพลังความร้อน และ การทำลายออกมาออกมา จุดกำเนีดนั้นที่ชอบใช้กันมากสุดก็คือความโกธร โมโห ความเกลียด ยิ่งมีมากเท่าไหร่ พลังก็จะยิ่งการเผาผลานเพี่มขื้น แต่ความจริงจุดกำเนีดไม่ได้มีเพียงอารมณ์โกธรเท่านั้น มันคือการควบคุมและปลดปล่อยพลังงานความร้อนในตัวผสานกับพลังงานความร้อนจากพายนอก ใช้อารมณ์รุนแรง และเป้าหมายของการปลดปล่อยนั้นเป็นตัวขับเคลื่อน ระหว่างการควบคุมไฟ ต้องรักษาระดับไฟให้สม่ำเสมอ ไฟจะดับหากมีน้อยไป แต่หากมากไปก็จะเสียการควบคุมและมันจะเผาทุกสิ่งรวมทั้งตัวนักเรียนด้วย






    บทเรียนที่ 3 การควบคุมลม

    ลมคือแปรปรวน ล่องลอย เมื่อเรี่มฝึกให้คิดถึงพลังงานที่ลอยรอบตัว ปล่อยใจให้ว่าง ลมหายใจเข้าออกประกอบการเคลื่อนไหวควบคุมลมไปตามทิดทางวงกลม เรี่มจากการสร้างสายลมเบาๆ ลัวพัดหนุนแรงขื้นเรี่อยๆ ให้มันก่อตัว เป็นรูบร่าง หรือพัดไปตามที่ต้องการ อย่างใจร้อนไม่เช่นนั้นสายลมจะแตกกรายจนไม่สามาภรควบคุมได้อีก เมื่อฝึกควบคุมรูบร่าง และ ทิศทางของมันจนคล่องแล้ว จื่งเรี่มฝึกที่จะใช้ลม ไม่ว่าจะใช้เพื่อปัดเป่า โยกย้าย คน หรือสิ่งของ หรือทำให้ลอย สร้างพายุ สร้างแรงอัดอากาศในการทำลาย เพี่มหรือลดแรงดันในตัว และรวบตัวคู่ต่อสู้ สร้างลมที่เคลื่อที่แรงและเร็วจนเหมือนใบมีดในอากาศ...





    บทเรียนที่ 5 การประลองเวทย์

    การประลองเวทย์คือการต่อสู้กันของนักเวทย์ อาจต่อสู้ของสองคน และ การต่อสู้เป็นกลุ่ม ใช้เพื่อตัดสินข้อขัดแย้ง, เพื่อคัดเลือก, เพื่อประเมีนความสามารถ, เพื่อความสนุก... ในการประลอง ผู้ประลองใจได้ใช้พลังเวทย์ที่ตนถนัดทุกอย่าง ทั้งการตั้งรับ และการตอบโต้ กำลัง สติปัญญา ไหวพริบ เล่ห์กลต่างต่างเพื่อ สร้างความเสียหายและเอาชนะอีกฝ่ายให้ได้

    เรี่มการประลองเวทย์ด้วยการทำความเคารพ หรือทักทายผู้ประลอง ทั้งนี้ก็เพื่อให้รู้ว่าต่างฝ่ายต่างพร้อมเข้าสู่การประลองแล้ว ผู้ประลองต้องเคารพกติกาของการแข่งขัน ถึงเราจะไม่เลือกวิธีที่จะชนะ แต่ถ้าไชชนะนั้นมาจากการโกงมันก็เป็นชัยชนะที่น่าอับอายและน่ารังเกียจ

    วีธีที่ใช้ในการต่อสู้ของแต่ละคนจะไม่เหมือนกันเช่น ทุ่มเทกำลังเพื่อปิดฉากการประลองโดยเร็ว, โจมตีไปทีละน้อยให้อีกฝ่ายอ่อนแรงแล้วโจมตีรุนแรงช่วงท้ายเพื่อล้มอีกฝ่าย, ใช้พลังป้องกันไปเรี่อยๆจนอีกฝ่ายอ่อนแรง, หลอกล่ออีกฝ่ายให้สับสนแล้วโจมตี... รวมแล้วก็คือ การเอาจุดเด่น และความถนัดของตนมาใช้ให้มากที่สุด ยั่งเชีงเพื่อประเมีนอีกฝ่าย หาจุดอ่อนและโจมตีไปที่จุดนั้น การต่อสู้ไม่ไม่ใช่ว่ามีกำลังมากจะชนะเสมอไป การป้องกันที่ดี มีแผนรับมือที่รอบคอบ การประสานงานที่สอดคล้องของทีม(การประลองแบบกลุ่ม)ก็ทำให้ได้ชัยชนะได้




    หมวดธาตุพิเศษ
     ธาตุทอง - กลุ่มธาตุดิน
    ธาตุสายฟ้า, ธาตุแสง - กลุ่มธาตุลม
    ธาตุเวทย์มนต์, ธาตุมืด- สามารถใช้ได้ทุกธาตุ







     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×