ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ฟิสิกส์ `

    ลำดับตอนที่ #4 : การหาแรงลัพธ์ โดยวิธีคำนวณ

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 127.71K
      47
      11 ก.พ. 56

    ลัธ์วิธีคำ

     วิธีที่  ใช้การแตกแรงหรือแยกแรง • 

          การแตกแรงหรือแยกแรง คือการแยกแรง 1 แรงออกเป็นแรงองค์ประกอบ 2 แรงซึ่งตั้งฉากกันอยู่ตามแนวแกน x และแกน y

     

    F เป็นขนาดของแรงที่มี F ทำมุม q  กับแกนนอนหรือแกน x
    Fx  เป็นขนาดของแรงตามแนวแกน x
    Fเป็นขนาดของแรงตามแนวแกน y




    ________________________________________________
      วิธีที่ 2  ใช้ทฤษฎีสี่เหลี่ยมด้านขนาน  

            ถ้านำแรง 2 แรงมาเขียนรูปตามทฤษฎีสี่เหลี่ยมด้านขนานจะได้ดังรูป



    พิสูจน์สูตร  จากรูป           X =  B sin q
                                              Y =  B cos q


    ตามรูป และ Pythagorus  ( รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก , รูปใหญ่ )
    R2  = (A + Y)2 + X2
          = (A + B cos q)2  + (B sin q)2
          = A2 + 2AB cos q + B2 cos2 q + B2 sin2 q
          = A2 +  2AB cos q + B2 ( sin2 q + cos2 q )

    จากตรีโกณ  sin2 q + cos2 q  = 1 ดังนั้นจะได้ว่า



    และหาทิศของ R หรือมุม a ได้จากสูตร




    ตัวอย่าง   มีแรง 2 แรงขนาด  8 นิวตัน และ 6 นิวตัน  โดยทำมุม  120 กับจุด ดังรูป จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์

    วิธีทำ หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์โดยใช้ทฤษฎีสี่เหลี่มด้านขนาน จะได้รูป

    จากสูตร                 R2 = A2 + B2 + 2AB cos q
                                  R2 = ( 8 )2 + ( 6 )2 + 2(8)(6) cos 120
                                        = 64 + 36 + 96 cos (180- 60)
                                        = 100 + 96 (- cos 60)
                                        = 100 – (96 )(0.5)
                                  R2     = 100 – 48 =  52
                                  R    =   52  =  7.2 นิวตัน

     

    ตอบ ขนาดของแรงลัพธ์เท่ากับ 7.2 นิวตัน และมีทิศทางทำมุม 45.8 กับแกน x

    _________________________________________________
      วิธีที่ 3  ใช้กฎของ cos  •


     

          จากกฎของ cos สามารถหาขนาดหรือความยาวของ  ได้เท่านั้น
    การใช้กฎของ cos เราใช้ด้านตรงข้ามมุม และใช้สูตรเป็น  -
    ซึ่งจะใช้สูตร  R2 = A2 + B2 - 2AB cos q    ( q
      คือมุมภายในสามเหลี่ยมและอยู่ตรงข้ามกับ R)

    _________________________________________________
    • วิธีที่ 4  ใช้กฎ sin หรือ ทฤษฎีลามิ ( Lami  Theorem )

          เมื่อมีแรงสามแรงมากระทำต่อวัตถุร่วมกันที่จุด ๆหนึ่ง และอยู่ในสภาวะสมดุล จะได้ว่า อัตราส่วนของแรงต่อ sine มุมตรงข้ามย่อมเท่ากัน 

    บทแทรกของทฤษฎีของลามิ   กล่าวว่า    เมื่อมี 3 แรงมากระทำร่วมกันที่วัตถุหนึ่งแล้วทำให้วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุล รูปสามเหลี่ยมใดก็ตามที่มีด้านทั้งสามตั้งฉากกับแนวของแรงทั้งสามนั้นตามลำดับแล้วด้านทั้งสาม ของรูปสามเหลี่ยมนั้น  ย่อมเป็นสัดส่วนโดยตรงกับแรงซึ่งมีแนวตั้งฉากกับด้านนั้นตามลำดับ



    ตัวอย่าง   เชือกเส้นหนึ่งผูกวัตถุมวล 6 กิโลกรัม ปลายอีกข้างหนึ่งตรึงติดกับฝาผนัง  ออกแรงดึงวัตถุไปในแนวระดับด้วยแรง  ทำให้เส้นเชือกเอียงทำมุม  60 กับฝาผนัง  จงหาแรงตึงของเชือกและแรง ที่ใช้ดึง



    ตอบ   แรงตึงเชือก เท่ากับ  120 นิวตัน และแรง P ที่ดึงเท่ากับ 103.92 นิวตัน
    ทบทวน  จากคณิตศาสตร์      
    - sin(A ± B) = sinAcosB   ±  cosAsinB                                                                                                                  - cos(A ± B) = cosAcosB      +  sinAsinB 

    _________________________________________________
     วิธีที่ 5 ใช้ทฤษฎีสามเหลี่ยมแทนแรง

           กล่าวว่า  ถ้ามีแรงสามแรงมากระทำร่วมกันที่จุดๆหนึ่ง และแรงทั้งสามแรงอยู่ในสภาวะสมดุล ขนาดและทิศทางของแรงทั้งสามสามารถแทนได้โดยด้านทั้งสามของสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง    เมื่อด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมนั้นขนานกับแนวแรงทั้งสามตามลำดับ



    ตัวอย่าง  คาน AB ยาว 0.5 เมตร เสียบอยู่กับซอกกำแพงที่จุด ที่ปลาย มีเชือก BC ผูกติดกับกำแพงที่จุด C โดยBC ยาว 2.5 เมตร และ  AC ยาว 0.5 เมตร นำก้อนน้ำหนัก กิโลกรัม ผูกติดที่ปลาย B ดังรูป จงหาแรงตึงเชือก BC

    _________________________________________________

    ก่อนจากกัน*


     

    © Tenpoints!
    Tiny Hand
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×