ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ห้องทำโครงงาน ห้ามเข้าคร้าบ

    ลำดับตอนที่ #3 : หน่อไม้ดอง

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 1.16K
      0
      17 ก.ย. 56

    โครงงาน
    ที่่มาและความสำคัญ
    ปัจจุบันคนส่วนใหญ่ใช้เวลาในการทำงานมาก และไม่ค่อยมีเวลาทำอาหารไว้กินเองในแต่ละมื้อ ทำให้มีความต้องการที่จะทำอารที่เก็บไว้ได้นานมาทำอารในแต่ละมื้อ เมื่อต้องต้องการที่จะทำก็ทำได้ทุกเมื่อ
    โดยทั่วไปเรามักเห็นการทำหน่อไม้ดองขาย เพราะสามารถเก็บไว้ได้นานกว่าอาหารอื่นๆและหน่อไม้เป็นสิ่งที่หาได้ง่ายและส่วนผสมในการทำไม่ได้มีมากนัก โดยกระบวนการทำหน่อไม้ดองนั้นต้องเกิดปฏิกิริยาเคมีบางอย่างถึงจะเป็นหน่อไม้ดองได้ คณะผู้จัดทำมีความสนใจที่จะศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของหน่อไม้ดอง
     
    วัตถุประสงค์
    มีแล้ว
     
    ผลที่คาดว่าจะได้รับ
    มีแล้ว
     
    สมมติฐาน
    ถ้าใส่น้ำซาวข้าวมาก ดังนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเร็วขึ้น
     
    ตัวแปร
    ตัวแปรต้น หน่อไม้ดิบ
    ตัวแปรตาม หน่อไม้ดองที่ได้
    ตัวแปรควบคุม เวลา ปริมาณน้ำเปล่าและน้ำซาวข้าว
     
    ขอบเขตการศึกษา
    หน่อไม้ที่นำมาศึกษา คือ หน่อไม้ดิบที่มีอยู่ทั่วไป นำมาทดลองการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยดำเนินงานที่โรงเรียน ชุมชน  และบ้านของคณะผู้จัดทำ โดยเริ่มดำเนินงานตั้งแต่เดือน มิถุนายน-สิงหาคม
     
    เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    ดีดี้หา
     
    วิธีดำเนินการทดลอมีเดีย
     
    -วัสดุอุปกรณ์ 
     มีแล้ว
     
    -ขั้นตอน
    มีแล้ว
     
    ผลการทดลอง
    มีแล้ว
     
    สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
    อัตราการเกิดปฏิกิริยาของหน่อไม้ดองในน้ำซาวขาวเร็วกว่าในน้ำเปล่า โดยการสังเกตจากสีและปริมาณน้ำที่ลดลง รวมถึงรสชาติที่เปลี่ยนไป
     
    ข้อเสนอแนะ
    1.ในการทำหน่อไม้ดองผู้ที่มีบาดแผลบริเวณมือไม่ควรทำหน่อไม้ดอง เนื่องจากอาจทำให้เชื้อโรค แผลอักเสบ และเป็นอันตรายได้
    2.ถ้าใส่เกลือเม็ดในปริมาณที่มากเกินไป อาจทำให้หน่อไม้ดองมีรสชาติเค็มเกินไปจนรับประทานไม่ได้ และทำให้เน่าเร็ว
     
    อุปสรรค
    เนื่องจากคณะผู้จัดทำไม่มีประสบการณ์ในการทำหน่อไม้ดองมาก่อน จึงทำให้ใช้เวลามากกว่าการทำหน่อไม้ดองทั่วไป
     
    บทคัดย่อ
     
    เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของหน่อไม้ดอง
    วัตถุประสงค์
    1.เพื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของหน่อไม้ดอง
    2.เพื่อเปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาของหน่อไม้ดองในน้ำเปล่าและน้ำซาวข้าว
    3.เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยาของหน่อไม้ดอง
    วัสดุอุปกรณ์
    1.โหลพลาสติก 2 โหล
    2.หน่อไม้
    3.น้ำเปล่า
    4.น้ำซาวข้าว
    5.มีด
    6.เขียง
    7.อ่างน้ำ
    8.เกลือเม็ด
    วิธีการทำ
    1.เทน้ำเปล่าลงในอ่างน้ำ ล้างหน่อไม้ให้สะอาด แกะเปลือกหน่อไม้ และนำมาล้างอีกครั้ง
    2.หั่นหน่อไม้เป็นชิ้นเล็กๆ และหมักด้วยเกลือเม็ดในปริมาณที่เหมาะสม
    3.แบ่งใส่โหลพลาสติกทั้งสองในปริมาณที่เท่ากัน
    4.ใส่น้ำเปล่าลงในโหลพลาสติกที่หนึ่ง และใส่น้ำซาวข้าวลงในโหลพลาสติกที่สองในปริมาณที่เท่ากัน
    5.ปิดฝาโหลพลาสติกทั้งสองให้สนิทและสังเกตการเปลี่ยนแปลงเป็นเวลา 3 สัปดาห์

    สำรวจหน่อไม้ส้ม
    ครั้งที่ 1 จันทร์ 17/06/56
    น้ำซาวข้าว หน่อไม้มีสีซีดลงเหมือนสีน้ำซาวข้าว
    น้ำเปล่า     หน่อไม้สีคงเดิมไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง
    ครั้งที่ 2 พฤหัส 20/06/56
    น้ำซาวข้าว หน่อไม้ยังคงมีสีเหมือนน้ำซาวข้าวเช่นเดียวกับครั้งที่ 1
    น้ำเปล่า     หน่อไม้เริ่มมีสีอ่อนลงจากครั้งที่ 1
    ครั้งที่ 3 จันทร์ 24/06/56
    น้ำซาวข้าว หน่อไม้เริ่มมีสีซีดอ่อนลงจากครั้งที่ 2
    น้ำเปล่า     หน่อไม้มีสีอ่อนลงจากครั้งที่ 2
    ครั้งที่ 4 พฤหัส 27/06/56
    น้ำซาวข้าว ปริมาณน้ำในโหลลดลง หน่อไม้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
    น้ำเปล่า ปริมาณน้ำในโหลลดลง หน่อไม้เริ่มมีสีเหมือนหน่อไม้ในน้ำซาวข้าว
    ครั้งที่ 5 จันทร์ 01/07/56
    น้ำซาวข้าว หน่อไม้มีสีอ่อนลงจากครั้งที่ 3-4
    น้ำเปล่า หน่อไม้มีสีอ่อนลงกว่าครั้งที่ 4
    ครั้งที่ 6 พฤหัส 04/07/56
    น้ำซาวข้าว หน่อไม้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
    น้ำเปล่า หน่อไม้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
    ครั้งที่ 7 จันทร์ 08/07/56
    น้ำซาวข้าว หน่อไม้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
    น้ำเปล่า หน่อไม้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
     
     
     
     
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×