ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    เปิดรั้วโรงเรียนครู "คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

    ลำดับตอนที่ #16 : สาขาวิชามัธยมศึกษา (มนุษยศาสตร์ - สังคมศาสตร์)

    • เนื้อหานิยายตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 21.09K
      13
      2 พ.ค. 55

    สาขาวิชามัธยมศึกษา

    (มนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์)
    คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

     

     

     


    วุฒิปริญญาทางการศึกษา 


    ครุศาสตรบัณฑิต (มัธยมศึกษา)
     
    Bachelor of Education (Secondary Education) 




    สังกัด
    ภาควิชาหลักสูตรและการสอน

     




    แนวทางการคัดเลือกนิสิตเข้าสังกัดสาขาวิชา 
    (การคาดการณ์)


    - จำนวนรับ ประมาณ 70-80 คน
    -
    รูปแบบที่รับ
      1. ระบบรับตรงแบบปกติ
          - จฬ 042-044 สาขาวิชามัธยมศึกษา (มนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ : สายศิลป์) เลือกสอบวิชาภาษาไทย/สังคมศึกษา/ภาษาฝรั่งเศส (ใช้วิชาสามัญหรือ PAT ยื่นคะแนนเข้ามาสังกัดสาขาวิชา แต่ไม่ผูกพันกับการเข้าเรียนวิชาเอก การเข้าเรียนวิชาเอกจะมีการคัดเลือกภายหลังจากเข้าศึกษาโดยไม่ใช้คะแนนวิชาสามัญที่เลือกยื่น)
          - จฬ 045 สาขาวิชามัธยมศึกษา (มนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์) วิชาเอกภาษาเยอรมัน
      2. ระบบแอดมิชชั่นส์ รหัส 0036 คณะครุศาสตร์ รูปแบบรับรวม (ไม่จำแนกสาขาวิชา)

    หมายเหตุ
     : คุณสมบัตินิสิตในปีการศึกษา 2555 ไม่จำกัดว่าต้องเรียนแผนการเรียนใดๆ มาก่อน สามารถเรียนได้ทั้งสายวิทย์ และสายศิลป์

     

     

     

     

    แนวทางการเลือกวิชาเอก


    รูปแบบการเลือกเรียนวิชาเอก
    เลือกเรียนวิชาเอกเพียง 1 แบบจาก 3 แบบ ดังนี้

    แบบที่ 1 วิชาเอกเดี่ยว

                 เลือก 1 วิชาเอกต่อไปนี้เป็นวิชาเอกเดี่ยว
                 - ภาษาไทย
                 - สังคมศึกษา
                 - ภาษาอังกฤษ

    แบบที่ 2 วิชาเอกคู่ภายในสาขาวิชา   

    ประเภทวิชาเอก

    วิชาเอกเลือก

    ภายในสาขาวิชา

    วิธีเลือก

    วิชาเอก

    - ภาษาไทย

    - สังคมศึกษา

    - ภาษาอังกฤษ

    - ภาษาฝรั่งเศส

    - ภาษาเยอรมัน

     

    เลือกจับคู่กัน
    2 วิชาเอก
    จากวิชาเอกด้านซ้ายมือ

    เงื่อนไข

    วิชาเอกคู่ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน

    ไม่แนะนำให้เลือก เพราะมีปัญหาด้านตารางเรียน

            
    แบบที่ 3 วิชาเอกคู่ระหว่างวิชาเอกภายในสาขาวิชากับวิชาเอกของสาขาวิชาอื่น

    ประเภทวิชาเอก

    วิชาเอกบังคับเลือก

    ภายในสาขาวิชา
     เลือกเรียน
    1 วิชาเอก

    วิชาเอกเลือก

    ของสาขาวิชาอื่น

    เลือกเรียน 1 วิชาเอก

    วิชาเอก

    - ภาษาไทย

    - สังคมศึกษา

    - ภาษาอังกฤษ

    - ภาษาฝรั่งเศส

    - ภาษาเยอรมัน

     

    สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน

    - การศึกษานอกระบบ

    สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

    - สุขศึกษา

    - พลศึกษา

    สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา

    - เทคโนโลยีการศึกษา

    - คอมพิวเตอร์การศึกษา

    สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษาฯ

    - จิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว

    - การศึกษาพิเศษ


    หมายเหตุ : นิสิตสาขาวิชามัธยมศึกษา (มนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์) สามารถเลือกวิชาเอกคู่ของสาขาวิชามัธยมศึกษา (วิทยาศาสตร์) ได้ โดยผ่านการคัดเลือกเข้าเรียนวิชาเอก โดยที่อาจารย์ประธานสาขาสาขาที่ตนสังกัดวิชาเอกอยู่อนุมัติการเลือกวิชาเอกนั้น แต่มักจะไม่มีคนเลือกเรียน เพราะจัดตารางเรียนลำบาก วิชาต่างๆ มักมีเวลาเรียนชนกันจำนวนมาก อาจจะทำให้ไม่สำเร็จการศึกษาภายใน 5 ปี มิฉะนั้นก็ต้องเรียนหนัก เพราะเป็นวิชาเอกเนื้อหาทั้ง 2 วิชาเอก





    รายวิชาของวิชาเอกในสาขาวิชา


    วิชาเอกภาษาไทย
    คุณสมบัติของผู้ที่เหมาะจะเรียนวิชาเอกนี้
       
    มีความรู้พื้นฐานวิชาภาษาไทย มีความสนใจและมุ่งมั่นที่จะเป็นครูสอนวิชาภาษาไทย เห็นคุณค่าต่อความสำคัญ และการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สืบสานภาษาไทยซึ่งเป็นมรดกที่บรรพบุรุษได้รังสรรค์ไว้ให้อยู่ชาติไทยตลอดไป 

    คณะที่ร่วมจัดการเรียนการสอน
       คณะครุศาสตร์ จัดการเรียนการสอนร่วมกับคณะอักษรศาสตร์ 

    แนวทางการประกอบอาชีพในอนาคต
       - ครูสอนวิชาภาษาไทยในสถาบันการศึกษาทั้งในภาครัฐ เอกชน และโรงเรียนนานาชาติ 
       - นักวิชาการและวิชาชีพต่าง ๆ ที่ต้องใช้ความรู้ด้านภาษาไทยเป็นสื่อ เช่น ผู้จัดอบรม พิธีกร
       - ศึกษาต่อในระดับปริญญามหาบัณฑิต

    + วิชาเอกเดี่ยว (จำนวน 76 หน่วยกิต)
        - รายวิชาของวิชาเอก
          1. รายวิชาบังคับ
    จำนวน 46 หน่วยกิต ได้แก่

              2201464 วรรณคดีท้องถิ่น (3)

              2719133 ลักษณะภาษาไทยและภาษาอื่นที่เกี่ยวข้อง (3)

              2719134 ประมวลวรรณคดีไทย (3)

              2719135 การเขียนเชิงวิชาการ (2)

              2719213 ศิลปะภาษาสำหรับครู (2)

              2719232 พัฒนาการวรรณกรรมไทยปัจจุบันสำหรับครู (3)

              2719242 วัฒนธรรมเกี่ยวกับภาษาและวรรณคดี (2)

              2719254 บทละครไทยสำหรับครู (2)

              2719301 คติชนวิทยากับการเรียนรู้และการสอน (2)

              2719314 ภาษาตะวันออกเบื้องต้นสำหรับการสอนภาษาไทย (3)

              2719315 วรรณคดีเอกของไทยในหนังสือเรียน (2)

              2719337 ภาษาศาสตร์สำหรับครู (2)

              2719341 พัฒนาการหนังสือเรียนภาษาไทย (3)

              2719342 ศิลปะการเขียนและแต่งคำประพันธ์1 (2)

              2719343 การวิเคราะห์หลักสูตรและสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (2)

              2719372 วาทวิทยาสำหรับครู (2)
              2719377 วรรณกรรมทางการศึกษา (2)

              2719411 การอ่านและการตีความภาษาไทย (2)

              2719413 ศิลปะการอ่าน (2)

              2719414 ประเด็นและแนวโน้มทางการเรียนการสอนภาษาไทย (2)


          2. รายวิชาเลือก จำนวน 30 หน่วยกิต

               รายวิชาเลือกแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มภาษา และกลุ่มวรรณกรรม นิสิตจะต้องเลือกเรียนทั้งสองกลุ่มอย่างน้อยกลุ่มละ 10 หน่วยกิต และอีก 10 หน่วยกิต นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มใดก็ได้ให้ครบ 30 หน่วยกิต
               2.1 กลุ่มภาษา ได้แก่
                     2201324 การสร้างศัพท์และการบัญญัติศัพท์ (3)

                     2201401 การวิเคราะห์ภาษาไทย (3)

                     2201431 ภาษาไทยถิ่น (3)

                     2201435 ภาษาไทยสมัยต่าง ๆ (3)

                     2201441 การเขียนนวนิยายและเรื่องสั้น (3)

                     2719214 สำนวนไทยเพื่อการสื่อสาร (2)

                     2719255 กิจกรรมละครเพื่อการจัดการเรียนรู้ (2)

                     2719344 ภาษาสื่อสารมวลชนเพื่อการเรียนการสอนภาษาไทย (2)

                     2719374 ศิลปะการเขียนและแต่งคำประพันธ์2 (2)

                     2719388 การสอนภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศ (2)

                     2719412 ทักษะการเขียนแบบสร้างสรรค์ (2)

               2.2 กลุ่มวรรณคดี ได้แก่
                     2201264 วรรณคดีนิทาน (3)

                     2201266 วรรณคดีคำสอน (3)

                     2201275 งานสุนทรภู่ (3)

                     2201393 วรรณกรรมกับสังคม (3)

                     2201473 พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส (3)

                     2201482 นวนิยายและเรื่องสั้น (3)

                     2719243 สุนทรียภาพในภาษาไทยสำหรับครู (2)

                     2719244 การสอนวรรณกรรมวิจารณ์ (2)

                     2719375 วรรณกรรมไทยปัจจุบันในหนังสือเรียน (2)



    + วิชาเอกคู่ (จำนวน 38 หน่วยกิต)
       - รายละเอียดวิชาเอกที่นำมาคู่
           วิชาเอกภาษาไทย สามารถเลือกคู่กับ วิชาเอกภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน การศึกษานอกระบบโรงเรียน สุขศึกษา พลศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา คอมพิวเตอร์การศึกษา จิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว และการศึกษาพิเศษ

        - รายวิชาของวิชาเอก
          1. รายวิชาบังคับ
    จำนวน 24 หน่วยกิต ได้แก่
              2719133 ลักษณะภาษาไทยและภาษาอื่นที่เกี่ยวข้อง (3)

              2719134 ประมวลวรรณคดีไทย (3)

              2719314 ภาษาตะวันออกเบื้องต้นสำหรับการสอนภาษาไทย (3)

              2719337 ภาษาศาสตร์สำหรับครู (2)

              2719341 พัฒนาการหนังสือเรียนภาษาไทย (3)

              2719342 ศิลปะการเขียนและแต่งคำประพันธ์1 (2)

              2719343 การวิเคราะห์หลักสูตรและสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (2)

              2719411 การอ่านและการตีความภาษาไทย (2)

              2719413 ศิลปะการอ่าน (2)

              2719414 ประเด็นและแนวโน้มทางการเรียนการสอนภาษาไทย (2)


           2. รายวิชาเลือก จำนวน 14 หน่วยกิต 
                รายวิชาเลือกแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มภาษา และกลุ่มวรรณกรรม นิสิตจะต้องเลือกเรียนทั้งสองกลุ่มอย่างน้อยกลุ่มละ 5 หน่วยกิต และอีก 4 หน่วยกิต นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มใดก็ได้ให้ครบ 14 หน่วยกิต 
               2.1 กลุ่มภาษา ได้แก่
                      2201324 การสร้างศัพท์และการบัญญัติศัพท์ (3)

                      2201401 การวิเคราะห์ภาษาไทย (3)

                      2201431 ภาษาไทยถิ่น (3)

                      2201435 ภาษาไทยสมัยต่าง ๆ (3)

                      2201441 การเขียนนวนิยายและเรื่องสั้น (3)

                      2719135 การเขียนเชิงวิชาการ (2)

                      2719213 ศิลปะภาษาสำหรับครู (2)

                      2719214 สำนวนไทยเพื่อการสื่อสาร (2)

                      2719242 วัฒนธรรมเกี่ยวกับภาษาและวรรณคดี (2)

                      2719255 กิจกรรมละครเพื่อการจัดการเรียนรู้ (2)

                      2719344 ภาษาสื่อสารมวลชนเพื่อการเรียนการสอนภาษาไทย (2)

                      2719372 วาทวิทยาสำหรับครู (2)
                      2719374 ศิลปะการเขียนและแต่งคำประพันธ์2 (2)

                      2719388 การสอนภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศ (2)

                      2719412 ทักษะการเขียนแบบสร้างสรรค์ (2)
               2.2 กลุ่มวรรณคดี ได้แก่
                      2201264 วรรณคดีนิทาน (3)

                      2201266 วรรณคดีคำสอน (3)

                      2201275 งานสุนทรภู่ (3)

                      2201393 วรรณกรรมกับสังคม (3)

                      2201473 พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส (3)

                      2201482 นวนิยายและเรื่องสั้น (3)

                      2719243 สุนทรียภาพในภาษาไทยสำหรับครู (2)

                      2719244 การสอนวรรณกรรมวิจารณ์ (2)

                      2719375 วรรณกรรมไทยปัจจุบันในหนังสือเรียน (2)




    วิชาเอกภาษาอังกฤษ
    คุณสมบัติของผู้ที่เหมาะจะเรียนวิชาเอกนี้
       เป็นคนที่ชอบภาษาอังกฤษ  มีทักษะด้านภาษาอังกฤษมาพอสมควร 

    คณะที่ร่วมจัดการเรียนการสอน
       คณะครุศาสตร์ จัดการเรียนการสอนร่วมกับคณะอักษรศาสตร์ และสถาบันภาษา 

    แนวทางการประกอบอาชีพในอนาคต
       - ครูสอนภาษาต่างประเทศในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 
       - ทำงานในหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่ต้องใช้ภาษาต่างประเทศในการติดต่อสื่อสาร   
       - ศึกษาต่อในระดับปริญญามหาบัณฑิตทั้งในประเทศและต่างประเทศ

    + วิชาเอกเดี่ยว (จำนวน 76 หน่วยกิต)
        - รายวิชาของวิชาเอก
          1. รายวิชาบังคับ
    จำนวน 45 หน่วยกิต ได้แก่
              2725182 การสื่อสารด้วยการพูดภาษาอังกฤษ (2)

              2725186 การเขียนอนุเฉทอังกฤษ (2)

              2725187 กลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษ (2)

              2725278 สัทศาสตร์และการออกเสียงภาษาอังกฤษสำหรับครู (3)

              2725280 วรรณกรรมสำหรับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (2)

              2725282 ไวยากรณ์อังกฤษเพื่อการสอนและการสื่อสาร (3)

              2725283 การเขียนเรียงความ ย่อความและจดหมายอังกฤษ (2)

              2725284 การศึกษาภาษาอังกฤษขั้นนำ (3)

              2725330 การออกแบบการวัดและประเมินผลภาษาอังกฤษ (3)

              2725349 การอ่านสื่อและสิ่งพิมพ์ภาษาอังกฤษ (2)

              2725358 วาทการอังกฤษ (2)

              2725359 การวิเคราะห์แบบเรียนภาษาอังกฤษ (2)

              2725360 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (2)

              2725364 การวิเคราะห์หลักสูตรและสาระภาษาอังกฤษ (2)

              2725370 การเขียนร้อยแก้วภาษาอังกฤษ (3)

              2725448 การศึกษาแบบสองภาษาและพหุภาษา (3)

              2725459 การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนภาษาอังกฤษ (3)
              2725460 ประเด็นและแนะโน้มทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (2)


          2. รายวิชาเลือก จำนวน 31 หน่วยกิต 
              2725271 การอ่านอังกฤษเชิงวิเคราะห์โครงสร้างภาษา (2)

              2725272 ภาษาอังกฤษเพื่อนันทนาการทางการศึกษา (3)

              2725361 วาทพัฒนา (2)

              2725362 การอ่านอังกฤษเชิงวิจารณ์ (2)

              2725368 การศึกษารายบุคคลสำหรับครูภาษาอังกฤษ (2)

              2725369 ภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงค์เฉพาะอย่าง (2)

              2725382 การฝึกเขียนรายงานภาษาอังกฤษ (3)

              2725397 การแปลภาษาไทยเป็นอังกฤษ (2)

              2725444 ภาษาอังกฤษสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น (2)

              2725447 การเขียนร้อยแก้วภาษาอังกฤษขั้นสูง (3)

              2725455 การแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย (2)

              2725456 การเรียนภาษาอังกฤษจากสื่อ (2)

              2725457 เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการสอนภาษาอังกฤษ (3)

              2725458 การเขียนอังกฤษเชิงสร้างสรรค์ (3)

              2725461 วัฒนธรรมไทยสำหรับครูภาษาอังกฤษ (3)



    + วิชาเอกคู่ (จำนวน 38 หน่วยกิต)
       - รายละเอียดวิชาเอกที่นำมาคู่
           วิชาเอกภาษาอังกฤษ สามารถเลือกคู่กับ วิชาเอกภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน การศึกษานอกระบบโรงเรียน สุขศึกษา พลศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา คอมพิวเตอร์การศึกษา จิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว และการศึกษาพิเศษ

        - รายวิชาของวิชาเอก
          1. รายวิชาบังคับ
    จำนวน 27 หน่วยกิต ได้แก่
              2725186 การเขียนอนุเฉทอังกฤษ (2)

              2725187 กลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษ (2)

              2725278 สัทศาสตร์และการออกเสียงภาษาอังกฤษสำหรับครู (3)

              2725280 วรรณกรรมสำหรับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (2)

              2725282 ไวยากรณ์อังกฤษเพื่อการสอนและการสื่อสาร (3)

              2725284 การศึกษาภาษาอังกฤษขั้นนำ (3)

              2725330 การออกแบบการวัดและประเมินผลภาษาอังกฤษ (3)

              2725358 วาทการอังกฤษ (2)

              2725364 การวิเคราะห์หลักสูตรและสาระภาษาอังกฤษ (2)

              2725370 การเขียนร้อยแก้วภาษาอังกฤษ (3)

              2725460 ประเด็นและแนะโน้มทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (2)


          2. รายวิชาเลือก จำนวน 11 หน่วยกิต 
              2725182 การสื่อสารด้วยการพูดภาษาอังกฤษ (2)

              2725271 การอ่านอังกฤษเชิงวิเคราะห์โครงสร้างภาษา (2)

              2725272 ภาษาอังกฤษเพื่อนันทนาการทางการศึกษา (3)

              2725283 การเขียนเรียงความ ย่อความและจดหมายอังกฤษ (2)

              2725349 การอ่านสื่อและสิ่งพิมพ์ภาษาอังกฤษ (2)

              2725359 การวิเคราะห์แบบเรียนภาษาอังกฤษ (2)

              2725360 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (2)

              2725361 วาทพัฒนา (2)

              2725362 การอ่านอังกฤษเชิงวิจารณ์ (2)

              2725368 การศึกษารายบุคคลสำหรับครูภาษาอังกฤษ (2)

              2725369 ภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงค์เฉพาะอย่าง (2)

              2725382 การฝึกเขียนรายงานภาษาอังกฤษ (3)

              2725397 การแปลภาษาไทยเป็นอังกฤษ (2)

              2725444 ภาษาอังกฤษสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น (2)

              2725447 การเขียนร้อยแก้วภาษาอังกฤษขั้นสูง (3)

              2725448 การศึกษาแบบสองภาษาและพหุภาษา (3)

              2725455 การแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย (2)

              2725456 การเรียนภาษาอังกฤษจากสื่อ (2)

              2725457 เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการสอนภาษาอังกฤษ (3)

              2725458 การเขียนอังกฤษเชิงสร้างสรรค์ (3)

              2725459 การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนภาษาอังกฤษ (3)
              2725461 วัฒนธรรมไทยสำหรับครูภาษาอังกฤษ (3)




    วิชาเอกสังคมศึกษา
    คุณสมบัติของผู้ที่เหมาะจะเรียนวิชาเอกนี้
      เป็นผู้ที่สนใจ/ใฝ่รู้ และมีพื้นฐานความรู้ในเรื่องของสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์  วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ตลอดจนคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และสื่อสารความรู้ความเข้าใจและความคิดเห็นต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี  

    คณะที่ร่วมจัดการเรียนการสอน
       คณะครุศาสตร์ จัดการเรียนการสอนร่วมกับคณะอักษรศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะนิติศาสตร์

    แนวทางการประกอบอาชีพในอนาคต
       - เป็นครูสอนสังคมศึกษา ในระดับมัธยมศึกษา 
       - เรียนต่อระดับปริญญามหาบัณฑิต ทางด้านการสอนสังคมศึกษา และดุษฎีบัณฑิตด้านหลักสูตรและการสอน ปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต ด้านรัฐศาสตร์ อักษรศาสตร์ ศิลปศาสตร์ หรือสาขาอื่น ๆ ได้

    + วิชาเอกเดี่ยว (จำนวน 76 หน่วยกิต)
        - รายวิชาของวิชาเอก
          1. รายวิชาบังคับ
    จำนวน 49 หน่วยกิต ได้แก่

              2204201 ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยใหม่ (3)

              2204202 ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ (3)

              2204372 ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่19 ถึงปัจจุบัน (3)

              2204378 ประวัติศาสตร์ยุโรปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่19 ถึงปัจจุบัน (3)

              2204392 ประวัติศาสตร์เอเชียใต้ตั้งแต่สมัยอาณานิคมจนถึงปัจจุบัน (3)

              2205205 ภูมิศาสตร์ภูมิภาคของโลก 1 (2)

              2205206 ภูมิศาสตร์ภูมิภาคของโลก 2 (2)

              2205211 ระบบกายภาพในสภาพแวดล้อม (3)

              2205341 ภูมิศาสตร์ประเทศไทย (3)

              2221433 พุทธธรรมในพระไตรปิฎกบาลี (3)

              2400210 สังคมวิทยาปริทัศน์ (3)

              2401180 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ (3)

              2402310 เศรษฐกิจการเมืองโลก (3)

              2722272 ธรรมวิทยา (2)

              2722328 การวิเคราะห์หลักสูตรและสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา (2)

              2722329 ประเด็นและแนวโน้มทางสังคมศึกษา (2)

              2900151 ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ (3)

              3404117 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (3)

     

          2. รายวิชาเลือก จำนวน 27 หน่วยกิต 

               2200185 ปริทัศน์ศิลปะและโบราณวัตถุสถานในประเทศไทย (3)

               2200387 โบราณคดีในประเทศไทย (3)

               2204367 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย (3)

               2204377 ประวัติศาสตร์ยุโรปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงคริสต์ศตวรรษที่18 (3)

               2204382 ยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (3)

               2204387 ประวัติศาสตร์อเมริกาตั้งแต่สมัยอาณานิคมถึงสมัยธุรกิจขนาดใหญ่ (3)

               2204388 ประวัติศาสตร์อเมริกันตั้งแต่ ค.ศ.1898 ถึงปัจจุบัน (3)

               2204395 ประวัติศาสตร์จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงปัจจุบัน (3)

               2204406 ญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (3)

               2204490 องค์การระหว่างประเทศ (3)

               2205251 การแปลความหมายของแผนที่และภาพถ่ายทางอากาศ (3)

               2400104 การเมืองการปกครองของไทย (3)

               2403350 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม (3)

               2722178 วัฒนธรรมไทย (2)

               2722179 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (2)

               2722201 สังคมกับการศึกษาเพื่อความยั่งยืน (3)

               2722209 ประชากรศึกษา (3)

               2722288 ธรรมะกับการครองตน (3)
               2900152 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐกิจไทย (3)


    + วิชาเอกคู่ (จำนวน 38 หน่วยกิต)
       - รายละเอียดวิชาเอกที่นำมาคู่
           วิชาเอกสังคมศึกษา สามารถเลือกคู่กับ วิชาเอกภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน การศึกษานอกระบบโรงเรียน สุขศึกษา พลศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา คอมพิวเตอร์การศึกษา จิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว และการศึกษาพิเศษ

        - รายวิชาของวิชาเอก
          1. รายวิชาบังคับ
    จำนวน 27 หน่วยกิต ได้แก่
              2204202 ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ (3)

              2205211 ระบบกายภาพในสภาพแวดล้อม (3)

              2400210 สังคมวิทยาปริทัศน์ (3)

              2401180 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ (3)

              2722272 ธรรมวิทยา (2)

              2722328 การวิเคราะห์หลักสูตรและสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา (2)

              2722329 ประเด็นและแนวโน้มทางสังคมศึกษา (2)

              2900151 ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ (3)

              3404117 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (3)
     

          2. รายวิชาเลือก จำนวน 11 หน่วยกิต 

              2200185 ปริทัศน์ศิลปะและโบราณวัตถุสถานในประเทศไทย (3)

              2204201 ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยใหม่ (3)

              2204372 ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่19 ถึงปัจจุบัน (3)

              2204367 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย (3)

              2204377 ประวัติศาสตร์ยุโรปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงคริสต์ศตวรรษที่18 (3)

              2204378 ประวัติศาสตร์ยุโรปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่19 ถึงปัจจุบัน (3)

              2204382 ยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (3)

              2204388 ประวัติศาสตร์อเมริกันตั้งแต่ ค.ศ.1898 ถึงปัจจุบัน (3)

              2204392 ประวัติศาสตร์เอเชียใต้ตั้งแต่สมัยอาณานิคมจนถึงปัจจุบัน (3)

              2204395 ประวัติศาสตร์จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงปัจจุบัน (3)

              2204406 ญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (3)

              2204490 องค์การระหว่างประเทศ (3)

              2205205 ภูมิศาสตร์ภูมิภาคของโลก 1 (2)

              2205206 ภูมิศาสตร์ภูมิภาคของโลก 2 (2)

              2205251 การแปลความหมายของแผนที่และภาพถ่ายทางอากาศ (3)

              2205341 ภูมิศาสตร์ประเทศไทย (3)

              2221433 พุทธธรรมในพระไตรปิฎกบาลี (3)

              2400104 การเมืองการปกครองของไทย (3)

              2402310 เศรษฐกิจการเมืองโลก (3)

              2403350 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม (3)
              2722178 วัฒนธรรมไทย (2)

              2722179 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (2)

              2722201 สังคมกับการศึกษาเพื่อความยั่งยืน (3)

              2722209 ประชากรศึกษา (3)

              2722288 ธรรมะกับการครองตน (3)

              2900152 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐกิจไทย (3)




    วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส (วิชาเอกคู่ จำนวน 38 หน่วยกิต)
    คุณสมบัติของผู้ที่เหมาะจะเรียนวิชาเอกนี้
       เป็นคนที่ชอบภาษาฝรั่งเศส มีทักษะด้านภาษาฝรั่งเศสสมควร และต้องเป็นผู้ที่เรียนภาษาฝรั่งเศสในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษา) หรือได้ทุนระยะสั้นไปศึกษาในประเทศฝรั่งเศส

    คณะที่ร่วมจัดการเรียนการสอน
       คณะครุศาสตร์  จัดการเรียนการสอนร่วมกับคณะอักษรศาสตร์ 

    - รายละเอียดวิชาเอกที่นำมาคู่
       วิชาเอกฝรั่งเศส สามารถเลือกคู่กับ วิชาเอกภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา การศึกษานอกระบบโรงเรียน สุขศึกษา พลศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา คอมพิวเตอร์การศึกษา จิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว และการศึกษาพิเศษ

    แนวทางการประกอบอาชีพในอนาคต
       - ครูสอนภาษาฝรั่งเศสในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 
       - ทำงานในหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่ต้องใช้ภาษาต่างประเทศในการติดต่อสื่อสาร   
       - ศึกษาต่อในระดับปริญญามหาบัณฑิตทั้งในประเทศและต่างประเทศ 

    - รายวิชาของวิชาเอก
      1. รายวิชาบังคับ
    จำนวน 27 หน่วยกิต ได้แก่

           2231101 ภาษาฝรั่งเศสสำหรับนิสิตนอกคณะอักษรศาสตร์1 (3)

           2231102 ภาษาฝรั่งเศสสำหรับนิสิตนอกคณะอักษรศาสตร์2 (3)

           2231201 ภาษาฝรั่งเศสสำหรับนิสิตนอกคณะอักษรศาสตร์3 (3)

           2231202 ภาษาฝรั่งเศสสำหรับนิสิตนอกคณะอักษรศาสตร์4 (3)

           2725246 ภาษาศาสตร์ฝรั่งเศสสำหรับครู1 (2)

           2725306 การวิเคราะห์แบบเรียนภาษาฝรั่งเศส (3)

           2725331 ภาษาศาสตร์ฝรั่งเศสขั้นนำ (2)
           2725332 ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสสำหรับครู (2)

           2725352 เสริมทักษะการใช้ภาษาสำหรับครูฝรั่งเศส 1 (2)

           2725353 เสริมทักษะการใช้ภาษาสำหรับครูฝรั่งเศส 2 (2)

           2725437 ประเด็นและแนวโน้มทางการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศส (2)


      2. รายวิชาเลือก จำนวน 11 หน่วยกิต 
           2725135 ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสสำหรับครู (2)

           2725137 การสื่อสารวัฒนธรรมฝรั่งเศสด้านธุรกิจการท่องเที่ยว (2)

           2725261 ประวัติวรรณคดีฝรั่งเศสสำหรับครู (2)
           2725307 การสอนการออกเสียงภาษาฝรั่งเศส (2)

           2725308 ภูมิศาสตร์ฝรั่งเศสสำหรับการสอนภาษาฝรั่งเศส (2)

           2725335 ชีวิตและแนวคิดไทยสำหรับครูภาษาฝรั่งเศส (2)

           2725415 ฝรั่งเศสปริทัศน์ (2)

           2725416 สัมมนาอารยธรรมฝรั่งเศส (2)
           2725454 ระบบการศึกษาในประเทศฝรั่งเศส (2)



    วิชาเอกภาษาเยอรมัน (วิชาเอกคู่ จำนวน 38 หน่วยกิต)
    คุณสมบัติของผู้ที่เหมาะจะเรียนวิชาเอกนี้
       เป็นคนที่ชอบภาษาเยอรมัน มีทักษะด้านภาษาเยอรมันสมควร และต้องเป็นผู้ที่เรียนภาษาเยอรมันในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มัธยมศึกษา) หรือได้ทุนระยะสั้นไปศึกษาในประเทศเยอรมัน

    คณะที่ร่วมจัดการเรียนการสอน
       คณะครุศาสตร์ จัดการเรียนการสอนร่วมกับคณะอักษรศาสตร์

    - รายละเอียดวิชาเอกที่นำมาคู่
       วิชาเอกเยอรมัน สามารถเลือกคู่กับ วิชาเอกภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา การศึกษานอกระบบโรงเรียน สุขศึกษา พลศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา คอมพิวเตอร์ศึกษา จิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว และการศึกษาพิเศษ

    แนวทางการประกอบอาชีพในอนาคต
       - ครูสอนภาษาเยอรมันในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 
       - ทำงานในหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่ต้องใช้ภาษาต่างประเทศในการติดต่อสื่อสาร   
       - ศึกษาต่อในระดับปริญญามหาบัณฑิตทั้งในประเทศและต่างประเทศ 

    - รายวิชาของวิชาเอก
      1. รายวิชาบังคับ
    จำนวน 24 หน่วยกิต ได้แก่

          2232101 ภาษาเยอรมัน 1 (3)

          2232102 ภาษาเยอรมัน 2 (3)
          2232209 ภาษาเยอรมันขั้นสูง 1 (3)

          2232210 ภาษาเยอรมันขั้นสูง 2 (3)

          2725324 ทักษะการเขียนแบบทดสอบภาษาเยอรมัน (2)

          2725338 ภาษาเยอรมันขั้นมูลฐานสำหรับการสอน (2)

          2725339 การศึกษาภาษาเยอรมันขั้นนำ (2)

          2725346 เสริมทักษะการใช้ภาษาสำหรับครูภาษาเยอรมัน 1 (2)

          2725347 เสริมทักษะการใช้ภาษาสำหรับครูภาษาเยอรมัน 2 (2)

          2725436 ประเด็นและแนวโน้มการสอนภาษาเยอรมัน (2)


      2. รายวิชาเลือก จำนวน 14 หน่วยกิต 
          2232211 แปลเยอรมันเบื้องต้น (3)

          2232250 เยอรมนีในปัจจุบัน (3)

          2232317 ภาษาเยอรมันเพื่อการท่องเที่ยว 1 (3)

          2232350 ปริทัศน์อารยธรรมเยอรมัน (3)

          2232354 บริทัศน์วรรณคดีเยอรมันยุคกลางถึงยุคคลาสสิก (3)

          2232381 แปลเยอรมัน-ไทย (3)

          2232383 วากยสัมพันธ์ภาษาเยอรมัน (3)

          2232417 ภาษาเยอรมันเพื่อการท่องเที่ยว 2 (3)

          2725420 การเขียนภาษาเยอรมันสำหรับครู (2)

          2725317 วิเคราะห์หนังสือแบบเรียนภาษาเยอรมัน (2)



    วิชาเอกภาษาจีน
    เป็นโครงการที่คณะครุศาสตร์กำลังจะเปิดการเรียนการสอนในอนาคต



    หมายเหตุสำหรับน้องที่เลือกวิชาเอกคู่กับวิชาเอกต่อไปนี้
                       1. วิชาเอกการศึกษานอกระบบโรงเรียน สามารถศึกษารายละเอียดได้ในบทความของสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน CLICK!
                       2. วิชาเอกสุขศึกษา และวิชาเอกพลศึกษา สามารถศึกษารายละเอียดได้ในบทความของสาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
    CLICK!
                       3. วิชาเอกเทคโนโลยีการศึกษา และวิชาเอกคอมพิวเตอร์การศึกษา สามารถศึกษารายละเอียดได้ในบทความของสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
    CLICK!

                       4. วิชาเอกจิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว และวิชาเอกการศึกษาพิเศษสามารถศึกษารายละเอียดได้ในบทความของสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา การแนะแนว และการศึกษาพิเศษ CLICK!


    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×