ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    ฟิสิกส์ ม.ปลาย

    ลำดับตอนที่ #36 : ไฟฟ้ากระแสสลับ

    • เนื้อหาตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 1.53K
      0
      21 ก.พ. 52

    ความต่างศักย์กระแสสลับ

    Vm = ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด (V)

    = อัตราเร็วเชิงมุม (rad/s)

    t = เวลาขณะใดขณะหนึ่ง (s)

    f = ความถี่ (Hz)

    T = คาบ (s)

    Im = ค่ากระแสไฟฟ้าสูงสุด (A)

    I = ค่ายังผลหรือค่ามิเตอร์ของกระแส

    วงจรตัวต้านทาน

    กระแส IR จะมีเฟสตรงกับ VR

    IR = กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน (A)

    R = ค่าความต้านทาน

    VR = ค่าความต่างศักย์ระหว่างปลายตัวต้านทาน

    Vm = ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุด

    วงจรตัวเก็บประจุ

    กระแสไฟฟ้า IC มีเฟสนำหน้าความต่างศักย์ VC

    อยู่ เรเดียน

    IC = กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวเก็บประจุ

    C = ค่าความจุของตัวเก็บประจุ (ฟารัด)

    VC = ค่าความต่างศักย์ระหว่างปลายตัวเก็บประจุ (V)

    XC = ความต้านทานเชิงความจุ

    วงจรความเหนี่ยวนำ

    กระแส IL จะมีเฟสตามหลังความต่างศักย์ VL

    อยู่ เรเดียน

    IL = ค่ากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวเหนี่ยวนำ

    L = ค่าความเหนี่ยวนำ (เฮนรี่)

    VL = ค่าความต่างศักย์ระหว่างปลายตัวเหนี่ยวนำ (V)

    XL = ค่าความต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ

    การต่อวงจรกระแสสลับ

    1. ต่อแบบขนาน

    Iรวม = IR + IC + IL

    Vรวม = VR = VC = VL

    2. ต่อแบบอนุกรม

    Iรวม = IR = IC = IL

    Vรวม = VR + VC + VL

    Iรวม = ค่ามิเตอร์ของกระแสไฟฟ้ารวม (A)

    Vรวม = ค่ามิเตอร์ของความต่างศักย์รวม (V)

    ความต้านทานเชิงซ้อน (Z)

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×