ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    เปิดรั้วโรงเรียนครู "คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

    ลำดับตอนที่ #19 : สาขาวิชาศิลปศึกษา

    • เนื้อหานิยายตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 6.7K
      4
      12 เม.ย. 55

    สาขาวิชาศิลปศึกษา
    คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

     

     

     


    วุฒิปริญญาทางการศึกษา 


    ครุศาสตรบัณฑิต (ศิลปศึกษา)
     
    Bachelor of Education (Art Education) 

     



    สังกัด
    ภาควิชาศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ศึกษา 





    แนวทางการคัดเลือกนิสิตเข้าสังกัดสาขาวิชา 
    (การคาดการณ์)

    - จำนวนรับ ประมาณ 40 คน
    -
    รูปแบบที่รับ
      ระบบรับตรงแบบพิเศษ
      - โครงการรับนักเรียนเข้าศึกษาในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา 

     

     


    บุคลิกของผู้ที่เหมาะจะเรียนในสาขาวิชานี้


    มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ มีความสนใจในศาสตร์ด้านการสอนและมีทักษะพื้นฐานด้านศิลปะพอสมควร




    ขอบเขตของการเรียนในสาขาวิชา


    - วิชาบังคับ พื้นฐานทางศิลปศึกษา และวิชาศิลปะทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ 
    - วิชาเลือกในสาขาวิชา  กลุ่มวิชาด้านศิลปศึกษา และทัศนศิลป์ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ทฤษฎีทางศิลปศึกษา  ประวัติศาสตร์ศิลป์ เช่นสุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะร่วมสมัย และการออกแบบ เช่น การออกแบบตกแต่งภายใน การออกแบบอุตสาหกรรม การออกแบบพาณิชย์ศิลป์และคอมพิวเตอร์กราฟฟิก


     

     

     

    แนวทางการเลือกวิชาเอก


    วิชาเอกบังคับ : วิชาเอกศิลปศึกษา
    รูปแบบวิชาเอก : วิชาเอกเดี่ยว
    เงื่อนไขของวิชาเอก : เป็นวิชาเอกเฉพาะของนิสิตสังกัดสาขาวิชาศิลปศึกษาเท่านั้น





    รายวิชาของวิชาเอกในสาขาวิชา


    วิชาเอกศิลปศึกษา (วิชาเอกเดี่ยว จำนวน 76 หน่วยกิต)

    1. 
    รายวิชาบังคับ จำนวน 56 หน่วยกิต ได้แก่

         2736101 ศิลปศึกษาขั้นนำ (2)

         2736103 การวาดเส้น (2)

         2736107 การออกแบบ (3)

         2736112 ประวัติศาสตร์ศิลปะ (2)

         2736113 ประติมากรรมสำหรับครู (2)

         2736161 การเขียนแบบ (2)

         2736162 ทฤษฎีและหลักการทางศิลปะ (2)

         2736163 การเขียนภาพคน (2)

         2736202 ภาพพิมพ์สำหรับครู (2)

         2736203 จิตรกรรมสำหรับครู (2)

         2736218 ศิลปะไทย (2)

         2736243 ศิลปะในโรงเรียนประถม (2)

         2736244 ศิลปะในโรงเรียนมัธยม (2)

         2736259 คอมพิวเตอร์กราฟิกสำหรับศิลปศึกษา (2)

         2736270 การออกแบบร่าง (2)

         2736271 ภูมิปัญญาด้านศิลปะไทย (2)

         2736304 ศิลปะสำหรับเด็กพิเศษ (2)

         2736324 ประวัติและปรัชญาของศิลปศึกษา (2)

         2736325 ศิลปวิจารณ์ (2)

         2736326 จิตวิทยาศิลปศึกษา (2)

         2736330 ศิลปะสำหรับเด็กเล็ก (2)

         2736335 พิพิธภัณฑ์ทางศิลปศึกษา (2)

         2736336 ศิลปะในสิ่งแวดล้อม (2)

         2736416 ประเด็นและแนวโน้มศิลปศึกษา (2)

         2736415 สุนทรียศาสตร์ในศิลปศึกษา (2)

         2736455 การศึกษาศิลปะภายใต้การนิเทศ (3)

         2736456 การเรียนรู้ของมนุษย์ในแนวทางศิลปศึกษา (2)


    2. 
    รายวิชาเลือก จำนวน 20 หน่วยกิต ได้แก่

         2736108 แผนของการออกแบบ (2)

         2736154 งานพลาสติก 1 (2)

         2736155 งานพลาสติก 2 (2)

         2736160 ศิลปะพื้นบ้าน (2)

         2736200 ทัศนศิลป์ (2)

         2736205 การเขียนภาพคนขั้นสูง (2)

         2736206 การเขียนภาพสีน้ำสำหรับครู (2)

         2736207 เครื่องดินเผา (2)

         2736209 การเขียนและการออกแบบตัวอักษร (2)

         2736211 ภาพพิมพ์ไม้สำหรับครู (2)

         2736212 การเขียนภาพสีน้ำมันสำหรับครู (2)

         2736217 ประติมากรรมเครื่องดินเผาและเครื่องเคลือบ (2)

         2736221 ศิลปะตะวันออก (2)

         2736222 ศิลปะตะวันตก (2)

         2736230 ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย (2)

         2736250 การออกแบบอุตสาหกรรมศิลป์ (2)

         2736255 การช่างอุตสาหกรรม (2)

         2736258 การประดิษฐ์และการออกแบบเครื่องประดับ (2)

         2736263 การปฏิบัติงานไม้ (2)

         2736300 การออกแบบและเทคโนโลยีในการศึกษา (2)

         2736301 ภาพพิมพ์ไม้ขั้นสูง (2)

         2736305 การทำหุ่นจำลอง (2)

         2736306 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์ผ้าไหม (2)

         2736307 ประติมากรรมไม้สำหรับครู (2)

         2736308 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะ (2)

         2736309 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์หิน (2)

         2736310 การออกแบบพาณิชยศิลป์ (2)

         2736312 ภาพพิมพ์แม่พิมพ์โลหะขั้นสูง (2)

         2736313 การออกแบบพาณิชยศิลป์ขั้นสูง (2)

         2736316 การออกแบบเครื่องแต่งกาย (2)

         2736317 การออกแบบตกแต่งภายใน (2)

         2736318 การวาดเส้นขั้นสูง (2)

         2736319 ประติมากรรมขั้นสูง (2)

         2736320 จิตรกรรมขั้นสูง (2)

         2736321 การออกแบบเครื่องเรือน (2)

         2736322 ปัญหาการออกแบบตกแต่งภายใน (2)

         2736327 การนำเสนอผลงานทางศิลปะ (2)

         2736329 การออกแบบของเล่นเพื่อการศึกษา (2)

         2736333 ลายไทย (2)

         2736334 การเขียนภาพจิตรกรรมไทย (2)

         2736337 ศิลปะในงานสื่อสาร (2)

         2736338 ศิลปะกับชุมชน (2)

         2736339 คอมพิวเตอร์กราฟิกขั้นสูงสำหรับศิลปศึกษา 1 (2)

         2736340 คอมพิวเตอร์กราฟิกขั้นสูงสำหรับศิลปศึกษา 2 (2)

         2736362 การออกแบบเชิงแนวคิด (2)

         2736402 ประติมากรรมโลหะ (2)

         2736407 การออกแบบขั้นสูง (2)

         2736410 การออกแบบตกแต่งภายในขั้นสูง (2)

         2736442 การศึกษารายบุคคล (1)

         2736453 การออกแบบอุตสาหกรรมศิลป์ขั้นสูง (2)

     




    แนวทางการประกอบอาชีพในอนาคต

     

    - เป็นนักวิชาการศิลปศึกษา ครูสอนศิลปศึกษา ผู้นำกิจกรรมสันทนาการทางศิลปศึกษา
    -
    เป็นภัณฑารักษ์ นักออกแบบศิลปิน
    ศึกษาต่อในระดับปริญญามหาบัณฑิตในสาขาวิชาศิลปศึกษา และศิลปะแขนงต่าง ๆ เพื่อเป็นนักวิจัยและผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×