ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    บทความคณิตศาสตร์

    ลำดับตอนที่ #97 : สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ต้น

    • เนื้อหานิยายตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 4.12K
      2
      28 ส.ค. 52

    ระบบจำนวน
     
    การหา ห.ร.ม.
        1.วิธีการแยกตัวประกอบ
            (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจำนวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ
            (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ำกันของแต่ละจำนวนมา 1 ตัว แล้วคูณกันเป็น ห.ร.ม.
        2. วิธีการตั้งหารสั้น
            (1) นำตัวเลขที่ต้องการหา ห.ร.ม.     มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็นจำนวนเฉพาะมาหารและสามารถหารจำนวนทุกตัวที่หา ห.ร.ม.     ลงตัวได้ทั้งหมด
            (2) นำตัวหารที่ได้มาคูณเป็น ห.ร.ม. ทั้งหมด
    การหา ค.ร.น.
        1. วิธีการแยกตัวประกอบ
            (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจำนวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ
            (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ำกันของแต่ละจำนวนมา 1 ตัว     พร้อมทั้งหาตัวที่ไม่ซ้ำกันลงมาด้วยและนำมาคูณกันเป็น ค.ร.น.
        2. วิธีการตั้งหารสั้น
            (1) นำตัวเลขที่ต้องการหา ค.ร.น.     มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็นจำนวนเฉพาะมาหารและสามารถหารได้ลงตัวอย่างน้อย 2 ตัว     หรือหากจำนวนใดที่ไม่สามารถหารลงตัวก็ให้ดึงตัวเลขนั้นลงมาแล้วหารจนหารต่อไปไม่ได้
            (2) นำตัวหารที่ได้มาคูณกันเป็น ค.ร.น. ทั้งหมด
    ความสัมพันธ์ของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
            (1) ให้ a, b เป็นเลข 2 จำนวน โดย c เป็น ห.ร.ม. และ d เป็น ค.ร.น. ของ a,b ก็จะได้ว่า a x b =  
        c x d
            (2) ห.ร.ม. ของเศษส่วน=  
     
            (3) ค.ร.น. ของเศษส่วน =
     
    การตรวจสอบการหารแบบลงตัวในบางจำนวน
        1. จำนวนที่ 2 หารลงตัวจะเป็นจำนวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลขคู่ซึ่งจะรวม 0 ด้วย
        2. จำนวนที่ 3 หารลงตัวจะเป็นจำนวนที่นำแต่ละหลักของเลขจำนวนนั้นมาบวกเข้าด้อยกันทุกหลัก เมื่อผลบวกออกมาเป็นตัวเลขที่ 3 สามารถหารได้ลงตัวซึ่งนั่นคือจำนวนที่ 3 สามารถหารได้ลงตัว แต่ถ้าผลบวกออกมาเป็นตัวเลขที่ 3 ไม่สามารถหารได้ลงตัวก็คือจำนวนนั้นสามารถที่จะนำ 3 มาหารได้ลงตัว
        3. จำนวนที่ 5 หารลงตัว ซึ่งจะมีเพียงจำนวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลข 5, 0 เท่านั้น
    คุณสมบัติของ 0, 1
        1. a + 0 = 0 + a = a
        2. a x 0 = 0 x a = 0
        3. a x 1 = 1 x a = a
        4. a  0 จะไม่มีค่า เมื่อ a 0
    โดยกำหนดให้ a แทนจำนวนใดๆ
    คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก, การคูณ
        1. a + b = b + a
        2. a x b = b x a
    โดยกำหนดให้ a, b = จำนวนใดๆ
    คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก, การคูณ
        1. (a + b) + c = a + (b + c)
        2. (b + c) x c = a x (b x c)
    โดยกำหนด a, b, c = จำนวนใดๆ
    คุณสมบัติการแจกแจง
        1. a x (b +c) = (a x b) + (a x c)
        2. (b + c) x a = (b x a) + (c x a)
    โดยกำหนดให้ a, b, c = จำนวนใดๆ
    ข้อสังเกตในการบวกและคูณจำนวนเลขคู่และเลขคี่
        1. จำนวนคู่ + จำนวนคู่ = จำนวนคู่
        2. จำนวนคี่ + จำนวนคี่ = จำนวนคู่
        3. จำนวนคี่ + จำนวนคู่ = จำนวนคี่
        4. จำนวนคู่ + จำนวนคู่ = จำนวนคี่
        5. จำนวนคู่ x จำนวนคู่ = จำนวนคู่
        6. จำนวนคี่ x จำนวนคี่ = จำนวนคี่
        7. จำนวนคี่ x จำนวนคู่ = จำนวนคู่
        8. จำนวนคู่ x จำนวนคี่ = จำนวนคู่
    การหาผลบวกของจำนวนเต็ม
        1. การหาผลบวกของจำนวนเต็มลบ
    จะได้ (-) + (-) = (-)
        2. การหาผลบวกระหว่างจำนวนเต็ม
    จะได้  
             2.1 ถ้า |(+)| > |(-)|  (+) + (-)
    = |(+)| - |(-)| = (+)
            2.2 ถ้า |(+)| < |(-)| (+) +(-)
    = |(+)| - |(-)| = (-)
    การหาผลลบของจำนวนเต็ม
        สูตร = ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ
    หมายเหตุ จำนวนตรงข้ามของ a เขียนด้วย –a  
    จำนวนตรงข้ามของ –a เขียนแทนด้วย –(-a)
    การหาผลคูณของจำนวนเต็ม
        1. การผลคูณของจำนวนเต็มบวก
    จะได้ (+) x (+) = (+)
        2. การผลคูณของจำนวนเต็มลบ
    จะได้ (-) x (-) = (+)
        3.การผลคูณของจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ
    จะได้ (+) x (-) = (-)
        4.การหาผลคูณของจำนวนเต็มลบและจำนวนเต็มบวก
    จะได้ (-) x (+) = (-)
    การหาผลหารของจำนวนเต็ม
        สูตร ตัวตั้ง  ตัวหาร
        1. การผลหารของจำนวนเต็มบวก
    (+)  (+) = (+)
        2. การหาผลหารของจำนวนเต็มลบ
    (-)  (-) = (+)
        3. การผลหารระหว่างจำนวนต็มบวกและจำนวนเต็มลบ
    (+)(-) = (-)
        4. การหาผลหารระหว่างจำนวนเต็มลบและจำนวนเต็มบวก
    (+)  (-) = (-)
    คุณสมบัติของจำนวนจริง
        1. คุณสมบัติปิดของการบวก
    a + b เป็นจำนวนจริง
        2. คุณสมบัติของการคูณ
    a x b เป็นจำนวนจริง
        3. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการบวก
    (a + b) + c = a + (b + c)
        4. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการคูณ
    (a +b) x c = a x (b x c)
        5. คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก
    a + b = b + a  
        6. คุณสมบัติการสลับที่ของการคูณ
    a x b = b x a
       7. เอกลักษณ์การบวก  
        เอกลักษณ์ของการบวก คือ 0  
    0 + a = a = a + 0
       8. เอกลักษณ์การคูณ  
       เอกลักษณ์ของการคูณ คือ 1
    1 x a = a = a x 1
       9. อินเวอร์สการบวก  
       อินเวอร์สการบวกของ a ได้แก่ –a
    (-a) + a = 0 = a + (-a)
       10. อินเวอร์สการคูณ  
    อินเวอร์สของการคูณของของ a คือ [a 0]x a = 1 = a x  
       11. คุณสมบัติการแจกแจง
    a x ( b+ c) = (a x b) + (a x c)
     

    อัตราส่วน 

    การเปรียบเทียบ     จำนวนไก่และจำนวนม้า โดยใช้   อัตราส่วน   จะกล่าวได้b 2 แบบ คือ
    แบบที่ 1      : กล่าวว่า อัตราส่วน  ของจำนวนไก่ ต่อ จำนวนม้า เป็น 3 ต่อ 5
            ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  3 : 5  (อ่านว่าสามต่อห้า)  
    แบบที่ 2      : กล่าวว่า  อัตราส่วน  ของจำนวนม้า ต่อ จำนวนไก่ เป็น 5 ต่อ 3  
          ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  5 : 3  (อ่านว่าห้าต่อสาม)
    ดังนั้น
    อัตราส่วน (Ratio)  คือ การเปรียบเทียบจำนวนของของตั้งแต่สองสิ่งขึ้นไป โดยใช้สัญลักษณ์  a : b หรือ        อ่านว่า  a  ต่อ  b   เรียก "a" ว่า จำนวนแรกหรือจำนวนที่หนึ่ง และเรียก "b" ว่า จำนวนหลังหรือจำนวนที่สอง เช่น   กบมีปากกา 5 ด้าม กิ้มมีปากกา 4 ด้าม อัตราส่วนระหว่างจำนวนปากกาของกบ ต่อจำนวนปากกาของกิ้ม เป็น 5ต่อ 4  ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 5 : 4 หรือ  
    ข้อสังเกต
    - ถ้าหน่วยในการเปรียบเทียบเป็น อัตราส่วนเหมือนกัน ไม่ต้องเขียนหน่วย
      กำกับไว้  
    -  เช่น  จำนวนครู 1 คน ต่อ จำนวนนักเรียน 45 คน เขียนอัตราส่วนเป็น  
          1 : 45
    - ถ้าหน่วยในการเปรียบเทียบเป็น อัตราส่วนต่างกัน แต่อาจทำให้มีหน่วย
      เดียวกันก่อน
    - เช่น  ก มีเงิน 3 บาท  ข มีเงิน 8 บาท 50 สตางค์ เขียนอัตราส่วนเป็น
                   3 บาท  :  8 บาท 50 สตางค์
     หรือ         3 บาท  :  8.50 บาท
     หรือ               6  :  17
     
    - ถ้าหน่วยในการเปรียบเทียบเป็น อัตราส่วนไม่เหมือนกัน ต้องเขียนหน่วย
      ของการเปรียบเทียบ กำกับไว้ด้วย
    -  เช่น  อัตราส่วน กาแฟ 1 ช้อน ต่อน้ำตาล 4 ก้อน  
       เขียนเป็น 1 ช้อน  :  4 ก้อน
     


    จำนวนจริง   

    0201.gif


    ตรรกศาสตร์

    0301.gif

    เรขาตณิตวิเคราะห์

     0401.gif


    เครดิต :; http://rangsittutor.com/yabb/YaBB.pl?num=1218350939

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×